LibrarianMagazine Special edition#1

นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ ฉบับพิเศษ 1
ออกในเดือนธันวาคม 2551

libmagspecial1

ซึ่งในเล่มได้มีการกล่าวถึงหอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ
ซึ่งปัจจุบันยังไม่เปิดให้เข้าชม เนื่องจากอยู่ในระหว่างการตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ และการส่งมอบงาน

ชื่อเต็มๆ ของหอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ คือ
“หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช”

ทางทีมงานของนิตยสารบรรณารักษ์ได้มีโอกาสเล่าเรื่องราวความเป็นมา
และนำภาพถ่ายจากสถานที่จริงมาให้เราได้ชมกัน นับว่าเป็นโอกาสที่ดีอีกครั้งหนึ่ง

เนื้อหาในนิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์เล่มนี้ได้กล่าวถึง
– ประวัติความเป็นมาของหอจดหมายเหตุฯ
– วัตถุประสงค์ของการจัดสร้าง
– ภารกิจของหอจดหมายเหตุ
– ทรัพยากรสารสนเทศที่จัดเก็บ
– อาคารต่างๆ ในบริเวณหอจดหมายเหตุฯ

เอาเป็นว่าเป็นฉบับพิเศษ ที่ช่างพิเศษอะไรเช่นนี้
เพื่อนๆ สามารถดูรายละเอียดทั้งหมดที่
http://www.librarianmagazine.com/VOL1_SPECIAL/index.html

LibrarianMagazine ปีที่ 1 เล่ม 8

นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ ปี 1 เล่มที่ 8 ออกในเดือนตุลาคม 2551
ฉบับนี้เป็นฉบับส่งท้ายปีที่ 1 ของนิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์

libmag18

ก่อนเข้าเนื้อหาของเล่มนี้ ผมเลยขอถือโอกาสอวยพรล่วงหน้าเลยดีกว่า
ขอให้ Librarian Magazine อยู่คู่วงการบรรณารักษ์นานๆ
ขอให้ Librarian Magazine เป็นศูนย์กลางข้อมูลของเหล่าบรรณารักษ์
ขอให้คนทำ Librarian Magazine จงมีแรงใจในการนำเสนอผลงาน
ขอให้ Librarian Magazine ประสบความสำเร็จตามที่ตั้งใจไว้


เนื้อหาในนิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์เล่มนี้
มีดังนี้

เรื่องจากปก – ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม

เรื่องพิเศษ – “งานแสดงมุทิตาจิต จากศิษย์ถึงครู”

เรื่องพิเศษ – ครูในดวงใจของพวกเรา

พาเที่ยวห้องสมุด – ห้องสมุดธนาคารแห่งประเทศไทย

พาเที่ยวห้องสมุด – ห้องสมุดวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล

พาเที่ยวห้องสมุด – ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก โรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย

พัฒนาห้องสมุด – วีดิโอสตรีมมิ่ง

บทสัมภาษณ์ – คุณนันทนา กรดเต็ม

บทสัมภาษณ์ – อาจารย์ภณิดา แก้วกูร

บทสัมภาษณ์ -? คุณปิยะพร ดาวกระจ่าง (ใหม่)

ท่องเที่ยว ดูงาน? – ประเทศฮ่องกง 7X24 Learning Center บทบาทห้องสมุดยุคใหม่ ที่ต้องไปให้ถึง

บทความภาษาอังกฤษ? – The Plague of Plagiarism in an Online World

บทความและเรื่องแปล – สิบอย่างที่เราเรียนรู้ขณะที่กำลังสร้างเว็บไซต์ใหม่

บทความและเรื่องแปล – Dissertation & Research Clinics

บทความและเรื่องแปล – สภาผู้แทนราษฎร

เรื่องสั้นบรรณารักษ์ – บรรณารักษ์ป้ายแดง? (ตอน ๒)

เรื่องเล่าบรรณารักษ์ – เรื่องเล่าจากอินเดีย (ตอน ๒)

เรื่องเล่าบรรณารักษ์ – เลโอนาร์โด ดาวินชี : อัจฉริยะผู้เกิดก่อนยุคสมัย

เรื่องเล่าจากผู้อ่าน – หิ้วกล้องท่องพิพิธภัณฑ์สิงค์โปร์

หลังจากเล่มนี้ (ฉบับที่ 8) ทางทีมงานแอบกระซิบว่าจะมีเล่มฉบับพิเศษด้วย
ยังไงเดี๋ยวผมจะนำมาลงให้เพื่อนๆ บรรณารักษ์ได้อ่านนะครับ

เว็บไซต์บรรณารักษ์ออนไลน์ : http://www.librarianmagazine.com

นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ ปี 1 เล่ม 8 : http://www.librarianmagazine.com/VOL1No8/index.html

LibrarianMagazine ปีที่ 1 เล่ม 7

นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ ปี 1 เล่มที่ 7
ออกในเดือนกันยายน 2551

libmag17

นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ ฉบับนี้ มีเรื่องเยอะกว่าเล่มอื่นๆ มากเลย
กว่าจะอ่านครบผมต้องใช้เวลาหลายวันเลยนะครับ
ยังไงเพื่อนๆ ก็ลองแบ่งเรื่องที่อยากอ่านก่อนนะครับ จะได้ไม่เสียเวลา

เนื้อหาในนิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์เล่มนี้ มีดังนี้

เรื่องจากปก – ห้องสมุดธนาคารไทยพาณิชย์ สำนักงานใหญ่

พาเที่ยวห้องสมุด – พิพิธภัณฑ์-ห้องสมุด พุทธทาส ๑๐๐ ปี

พัฒนาห้องสมุด – ฝึกทำเว็บไซต์ด้วย?? PHP-Fusion Core 7

บทสัมภาษณ์ – รศ.ดร.น้ำทิพย์ วิภาวิน

บทสัมภาษณ์ – คุณเมฆินทร์ ลิขิตบุญฤทธิ์ เจ้าของบล๊อก Projectlib (ผมเอง)

ท่องเที่ยว ดูงาน? – การบริการทางวิชาการในรัฐสภาอินเดีย

บทความภาษาอังกฤษ? – Christine Borgman and Scholarly Communication

บทความและเรื่องแปล – การวัดผลความก้าวหน้า

บทความและเรื่องแปล – ห้องสมุดดิจิตัลแห่งยุโรป Launch of European digital library “on track”

บทความและเรื่องแปล – ระบบเกียรติศักดิ์

บรรณารักษ์นักเขียน – ดาริกามณี

เรื่องสั้นบรรณารักษ์ – ศูนย์สี่หนึ่งหก

เรื่องสั้นบรรณารักษ์ – บรรณารักษ์ป้ายแดง? (ตอน ๑)

เรื่องเที่ยวบรรณารักษ์ – เรื่องเล่าจากอินเดีย (ตอน ๑)

กิจกรรม และ สาระน่ารู้อื่นๆ – กิจกรรมวันแม่ ห้องสมุดประชาชนจังหวัดเลย

เป็นยังไงกันบ้างครับ เรื่องเยอะมากเลยใช่มั้ยครับ
เอาเป็นว่าค่อยๆ อ่านกันดูนะครับ

เว็บไซต์บรรณารักษ์ออนไลน์ : http://www.librarianmagazine.com

นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ ปี 1 เล่ม 7 :
http://www.librarianmagazine.com/VOL1No7/index.html