LibrarianMagazine Special edition#1

นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ ฉบับพิเศษ 1
ออกในเดือนธันวาคม 2551

libmagspecial1

ซึ่งในเล่มได้มีการกล่าวถึงหอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ
ซึ่งปัจจุบันยังไม่เปิดให้เข้าชม เนื่องจากอยู่ในระหว่างการตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ และการส่งมอบงาน

ชื่อเต็มๆ ของหอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ คือ
“หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช”

ทางทีมงานของนิตยสารบรรณารักษ์ได้มีโอกาสเล่าเรื่องราวความเป็นมา
และนำภาพถ่ายจากสถานที่จริงมาให้เราได้ชมกัน นับว่าเป็นโอกาสที่ดีอีกครั้งหนึ่ง

เนื้อหาในนิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์เล่มนี้ได้กล่าวถึง
– ประวัติความเป็นมาของหอจดหมายเหตุฯ
– วัตถุประสงค์ของการจัดสร้าง
– ภารกิจของหอจดหมายเหตุ
– ทรัพยากรสารสนเทศที่จัดเก็บ
– อาคารต่างๆ ในบริเวณหอจดหมายเหตุฯ

เอาเป็นว่าเป็นฉบับพิเศษ ที่ช่างพิเศษอะไรเช่นนี้
เพื่อนๆ สามารถดูรายละเอียดทั้งหมดที่
http://www.librarianmagazine.com/VOL1_SPECIAL/index.html

LibrarianMagazine ปีที่ 1 เล่ม 8

นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ ปี 1 เล่มที่ 8 ออกในเดือนตุลาคม 2551
ฉบับนี้เป็นฉบับส่งท้ายปีที่ 1 ของนิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์

libmag18

ก่อนเข้าเนื้อหาของเล่มนี้ ผมเลยขอถือโอกาสอวยพรล่วงหน้าเลยดีกว่า
ขอให้ Librarian Magazine อยู่คู่วงการบรรณารักษ์นานๆ
ขอให้ Librarian Magazine เป็นศูนย์กลางข้อมูลของเหล่าบรรณารักษ์
ขอให้คนทำ Librarian Magazine จงมีแรงใจในการนำเสนอผลงาน
ขอให้ Librarian Magazine ประสบความสำเร็จตามที่ตั้งใจไว้


เนื้อหาในนิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์เล่มนี้
มีดังนี้

เรื่องจากปก – ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม

เรื่องพิเศษ – “งานแสดงมุทิตาจิต จากศิษย์ถึงครู”

เรื่องพิเศษ – ครูในดวงใจของพวกเรา

พาเที่ยวห้องสมุด – ห้องสมุดธนาคารแห่งประเทศไทย

พาเที่ยวห้องสมุด – ห้องสมุดวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล

พาเที่ยวห้องสมุด – ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก โรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย

พัฒนาห้องสมุด – วีดิโอสตรีมมิ่ง

บทสัมภาษณ์ – คุณนันทนา กรดเต็ม

บทสัมภาษณ์ – อาจารย์ภณิดา แก้วกูร

บทสัมภาษณ์ -? คุณปิยะพร ดาวกระจ่าง (ใหม่)

ท่องเที่ยว ดูงาน? – ประเทศฮ่องกง 7X24 Learning Center บทบาทห้องสมุดยุคใหม่ ที่ต้องไปให้ถึง

บทความภาษาอังกฤษ? – The Plague of Plagiarism in an Online World

บทความและเรื่องแปล – สิบอย่างที่เราเรียนรู้ขณะที่กำลังสร้างเว็บไซต์ใหม่

บทความและเรื่องแปล – Dissertation & Research Clinics

บทความและเรื่องแปล – สภาผู้แทนราษฎร

เรื่องสั้นบรรณารักษ์ – บรรณารักษ์ป้ายแดง? (ตอน ๒)

เรื่องเล่าบรรณารักษ์ – เรื่องเล่าจากอินเดีย (ตอน ๒)

เรื่องเล่าบรรณารักษ์ – เลโอนาร์โด ดาวินชี : อัจฉริยะผู้เกิดก่อนยุคสมัย

เรื่องเล่าจากผู้อ่าน – หิ้วกล้องท่องพิพิธภัณฑ์สิงค์โปร์

หลังจากเล่มนี้ (ฉบับที่ 8) ทางทีมงานแอบกระซิบว่าจะมีเล่มฉบับพิเศษด้วย
ยังไงเดี๋ยวผมจะนำมาลงให้เพื่อนๆ บรรณารักษ์ได้อ่านนะครับ

เว็บไซต์บรรณารักษ์ออนไลน์ : http://www.librarianmagazine.com

นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ ปี 1 เล่ม 8 : http://www.librarianmagazine.com/VOL1No8/index.html

LibrarianMagazine ปีที่ 1 เล่ม 7

นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ ปี 1 เล่มที่ 7
ออกในเดือนกันยายน 2551

libmag17

นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ ฉบับนี้ มีเรื่องเยอะกว่าเล่มอื่นๆ มากเลย
กว่าจะอ่านครบผมต้องใช้เวลาหลายวันเลยนะครับ
ยังไงเพื่อนๆ ก็ลองแบ่งเรื่องที่อยากอ่านก่อนนะครับ จะได้ไม่เสียเวลา

เนื้อหาในนิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์เล่มนี้ มีดังนี้

เรื่องจากปก – ห้องสมุดธนาคารไทยพาณิชย์ สำนักงานใหญ่

พาเที่ยวห้องสมุด – พิพิธภัณฑ์-ห้องสมุด พุทธทาส ๑๐๐ ปี

พัฒนาห้องสมุด – ฝึกทำเว็บไซต์ด้วย?? PHP-Fusion Core 7

บทสัมภาษณ์ – รศ.ดร.น้ำทิพย์ วิภาวิน

บทสัมภาษณ์ – คุณเมฆินทร์ ลิขิตบุญฤทธิ์ เจ้าของบล๊อก Projectlib (ผมเอง)

ท่องเที่ยว ดูงาน? – การบริการทางวิชาการในรัฐสภาอินเดีย

บทความภาษาอังกฤษ? – Christine Borgman and Scholarly Communication

บทความและเรื่องแปล – การวัดผลความก้าวหน้า

บทความและเรื่องแปล – ห้องสมุดดิจิตัลแห่งยุโรป Launch of European digital library “on track”

บทความและเรื่องแปล – ระบบเกียรติศักดิ์

บรรณารักษ์นักเขียน – ดาริกามณี

เรื่องสั้นบรรณารักษ์ – ศูนย์สี่หนึ่งหก

เรื่องสั้นบรรณารักษ์ – บรรณารักษ์ป้ายแดง? (ตอน ๑)

เรื่องเที่ยวบรรณารักษ์ – เรื่องเล่าจากอินเดีย (ตอน ๑)

กิจกรรม และ สาระน่ารู้อื่นๆ – กิจกรรมวันแม่ ห้องสมุดประชาชนจังหวัดเลย

เป็นยังไงกันบ้างครับ เรื่องเยอะมากเลยใช่มั้ยครับ
เอาเป็นว่าค่อยๆ อ่านกันดูนะครับ

เว็บไซต์บรรณารักษ์ออนไลน์ : http://www.librarianmagazine.com

นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ ปี 1 เล่ม 7 :
http://www.librarianmagazine.com/VOL1No7/index.html

LibrarianMagazine ปีที่ 1 เล่ม 6

นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ ปี 1 เล่มที่ 6
ออกในเดือนกรกฎาคม 2551

libmag16

เรื่องจากปกของนิตยสารออนไลน์ฉบับนี้ ได้พูดถึงเรื่อง การนำโมเดลธุรกิจมาใช้ในห้องสมุด
ซึ่งกรณีตัวอย่างที่นำมาศึกษานี้ คือ กรณีการเปิด BookShop ของห้องสมุดสตางค์
นับว่าเป็นเรื่องที่น่าสนใจมากเลยนะครับ เพื่อนๆ ลองเอาไปประยุกต์ใช้ดูนะ

เนื้อหาในนิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์เล่มนี้
มีดังนี้

เรื่องจากปก – Library Bookshop ห้องสมุดสตางค์ มงคลสุข

พัฒนาห้องสมุด – เมื่อไปจัดห้องสมุดที่ลับแล

พัฒนาห้องสมุด – ห้องสมุดเพื่อน้อง

พาเที่ยวห้องสมุด – เคยไปศูนย์การเรียนรู้ วังจันทรเกษม ในกระทรวงศึกษาธิการไหม

พาเที่ยวห้องสมุด – ห้องสมุด Book Garden

บรรณารักษ์ท่องเที่ยว ดูงาน? – The 34th Binirayan Festival 2008 ประเทศฟิลิปปินส์

บรรณารักษ์ท่องเที่ยว ดูงาน? – เตรียมตัวขอทุน IFLA ตอนสอง การประเมินผลการเข้ารับการอบรม

เรื่องแปล – ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้

เรื่องแปล – หากว่าโลกของห้องสมุดจะไม่มีบรรณารักษ์

เรื่องแปล – หนูทำได้: เมื่อเด็กอายุ 12ขวบอยากเป็นเจ้าของห้องสมุด

ประสบการณ์การฝึกงานห้องสมุด – ประสบการณ์การฝึกงานห้องสมุดของนักศึกษาวิชาเอกบรรณารักษศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

ประสบการณ์การฝึกงานห้องสมุด – จากประสบการณ์การฝึกงานนักศึกษา

กิจกรรม และ สาระน่ารู้อื่นๆ – กิจกรรมห้องสมุดประชาชนจังหวัดเลย ตอนสอง

กิจกรรม และ สาระน่ารู้อื่นๆ – ไล-บรา-รี่ ห้องสมุดนี้ขายกาแฟ

นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ก็ได้ดำเนินการออกมาครบหกฉบับแล้ว
กำหนดเวลาก็ออกตรงเวลาทุกครั้ง แถมยังมีสาระความรู้ที่น่าสนใจมากมาย
ยังไงผมก็ขออวยพร และเป็นกำลังใจให้ผู้จัดทำทุกคนนะครับ

เว็บไซต์บรรณารักษ์ออนไลน์ :
http://www.librarianmagazine.com

นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ ปี 1 เล่ม 6 :
http://www.librarianmagazine.com/VOL1No6/index.html

LibrarianMagazine ปีที่ 1 เล่ม 5

นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ ปี 1 เล่มที่ 5
ออกในเดือนมิถุนายน 2551

libmag15

ฉบับนี้ผมชอบหน้าปกมากเลยครับ เพราะว่าเป็นรูปหนังสือเสียง
บอกเท่านี้ เพื่อนๆ ก็คงเดาได้แล้วนะครับว่าเนื้อหาในฉบับนี้มีเรื่องเด่นคืออะไร

นั่นแหละครับ ห้องสมุดโรงเรียนคนตาบอด นับว่าน่าสนใจมาก
เพราะเจาะลึกวิธีการทำงานของบรรณารักษ์ที่ทำงานจริงในห้องสมุดคนตาบอด

ส่วนเนื้อหาเรื่องอื่นๆ ก็น่าสนใจเหมือนกันนะครับ ลองดูสารบัญกันก่อนดีกว่า

เนื้อหาในนิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์เล่มนี้
มีดังนี้

เรื่องจากปก ห้องสมุดคนตาบอดแห่งชาติ The Nation Library of The Blind

บทสัมภาษณ์ – คุณพัชรพร ไตรอังกรู? บรรณารักษ์ ห้องสมุดคนตาบอดแห่งชาติ

บทสัมภาษณ์ – คุณวาสนา กลีบเมฆ? หัวหน้าฝ่ายผลิตหนังสือเสียง ห้องสมุดคนตาบอดแห่งชาติ

บทสัมภาษณ์ – คุณอุดม จันดากร? ผู้ใช้ห้องสมุด ห้องสมุดคนตาบอดแห่งชาติ

พาเที่ยวห้องสมุด – ห้องสมุดประชาชนสวนลุมพินี

พาเที่ยวห้องสมุด – Assumption University library

พัฒนาห้องสมุด – การออกแบบห้องสมุดมีชีวิต

พัฒนาห้องสมุด – ห้องสมุดมีชีวิต: ที่นี่มีมนุษย์หนังสือให้คุณยืม

พัฒนาห้องสมุด – ความร่วมมือระหว่างห้องสมุดทางการแพทย์ในประเทศไทย

พัฒนาห้องสมุด – ห้องสมุดประชาชนจังหวัดเลย

บรรณารักษ์ท่องเที่ยว ดูงานต่างประเทศ? – เตรียมตัวขอทุน? IFLA

เรื่องสั้น และ บทความอื่นๆ – มุมคุณธรรม (ตอน สอง)

เรื่องสั้น และ บทความอื่นๆ – หนังสือนิทานเสียงในซีดี? : หนูก็ทำได้

เป็นยังไงกันบ้างครับ หวังว่าคงได้ความรู้กันไปไม่มากก็น้อยเลยนะครับ
ว่างๆ ผมว่าจะไปเยี่ยมชมห้องสมุดโรงเรียนสอนคนตาบอดบ้างนะครับ
เพื่อจะได้ไอเดียดีๆ มาช่วยพัฒนาห้องสมุดต่อไป

เว็บไซต์บรรณารักษ์ออนไลน์ : http://www.librarianmagazine.com

นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ ปี 1 เล่ม 5 : http://www.librarianmagazine.com/VOL1NO5/index.html

LibrarianMagazine ปีที่ 1 เล่ม 4

นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ ปี 1 เล่มที่ 4
ออกในเดือนเมษายน 2551

libmag14

ฉบับที่ 4 นี้มีรูปลักษณ์ที่เปลี่ยนไปเยอะมากเลยนะครับ แบ่งคอลัมน์ชัดเจนมากขึ้น
แต่เนื้อหาในเล่มยังคงเข้มข้นเหมือนเดินนะครับ ยังไงก็ลองติดตามดูนะครับ

เนื้อหาในนิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์เล่มนี้
มีดังนี้

พาเที่ยวห้องสมุด – Read & Fit? สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา

พาเที่ยวห้องสมุด – ห้องสมุดเสริมปัญญา

พัฒนาห้องสมุด – ข้าพเจ้าเป็นบรรณารักษ์วิชาชีพ ..

พัฒนาห้องสมุด – โครงการบริการวิชาการพัฒนาห้องสมุดและสื่อการเรียนรู้ห้องสมุด

พัฒนาห้องสมุด – ชมรม TOFU ( THE OPPORTUNITY FUND UNIT)

บรรณารักษ์ท่องเที่ยวดูงาน ต่างประเทศ – Demystifying the American Library Association

บรรณารักษ์ท่องเที่ยวดูงาน ต่างประเทศ – ห้องสมุดในฮ่องกง

บรรณารักษ์ท่องเที่ยวดูงาน ต่างประเทศ – ประสบการณ์ดีๆที่เซี่ยงไฮ้

พาเที่ยวร้านหนังสือ – ร้านบุ๊คมาร์ค

เรื่องสั้น และ บทความอื่นๆ – มุมคุณธรรม

เรื่องสั้น และ บทความอื่นๆ – เว็บไซต์หนังสือสำหรับเด็ก

เรื่องสั้น และ บทความอื่นๆ – พาหนังสือเที่ยว

ความชัดเจนของการแบ่งคอลัมน์ในเล่นนี้ ทำให้เนื้อหาด้านในน่าติดตามมากๆ เลยนะครับ
ทางทีมงานก็ตั้งใจนำเสนอข้อมูลและเนื้อหาที่มีประโยชน์ต่อไป และหวังว่าเพื่อนๆ จะติดตามต่อไปด้วยเช่นกัน

เว็บไซต์บรรณารักษ์ออนไลน์ : http://www.librarianmagazine.com

นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ ปี 1 เล่ม 4 : http://www.librarianmagazine.com/VOL1NO4/index.html

LibrarianMagazine ปีที่ 1 เล่ม 3

นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ ปี 1 เล่มที่ 3
ออกในเดือนมีนาคม 2551

libmag13

ต้องขอออกตัวแทนผู้จัดทำก่อนนะครับ
เนื่องจากนิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ฉบับนี้ บางคอลัมน์ออกไม่ทันจริงๆ
จึงขอยกยอดคอลัมน์บางส่วนไปฉบับหน้านะครับ

เนื้อหาในนิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์เล่มนี้ มีดังนี้

พาเที่ยวห้องสมุดด้วยภาพ – หอสมุด มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช

พาเที่ยวห้องสมุดด้วยภาพ – หอสมุด มหาวิทยาลัยขอนแก่น

พาเที่ยวห้องสมุดด้วยภาพ – The Library เกาะสมุย

เรื่องพิเศษประจำฉบับ – นนทบุรีศึกษา โดย รองศาสตราจารย์ ดร. สมพร พุทธาพิทักษ์ผล

เรื่องพิเศษประจำฉบับ – บริการ??? ?นำส่งเอกสาร? โดย คุณพรทิพย์ สุวันทารัตน์

เรื่องพิเศษประจำฉบับ – ห้องพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ โดย คุณศิริน โรจนสโรช

เรื่องพิเศษประจำฉบับ – Experience from IFLA/ALP Attachment Program by Sarapee Srisuk

เรื่องพิเศษประจำฉบับ – ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ โดย รศ.ดร.น้ำทิพย์ วิภาวิน

เรื่องพิเศษประจำฉบับ – คุณค่าของห้องสมุดคืออะไร โดย คุณพิมล เมฆสวัสดิ์

บรรณารักษ์ – เพิ่มเสน่ห์ให้ห้องสมุดด้วย …..

บรรณารักษ์ – ชีวิตบรรณารักษ์ที่เข้ามาอยู่ในแวดวงทหาร

บรรณารักษ์ – งานบรรณารักษ์ ณ The Library

เรื่องพิเศษประจำฉบับ – it?s time for wonderful test !

ถึงแม้ว่าเรื่องจะน้อยกว่าปกติ บางคอลัมน์ไม่มี
แต่จากเนื้อหาที่นำเสนอในเรื่องนี้ ก็พิสูจน์แล้วว่านิตยสารเล่มนี้มีประโยชน์ และคุณค่ามากมาย

เว็บไซต์บรรณารักษ์ออนไลน์ :
http://www.librarianmagazine.com

นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ ปี 1 เล่ม 3 : http://www.librarianmagazine.com/VOL1NO3/index.html

LibrarianMagazine ปีที่ 1 เล่ม 2

นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ ปี 1 เล่มที่ 2
ออกในเดือนมกราคม 2551

libmag12

ในเล่มนี้เนื้อหาก็ยังคงเข้มข้นเหมือนเดิมนะครับ
ลองเข้าไปดูเนื้อหาในเล่มนี้กันดูนะครับ

เนื้อหาในนิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์เล่มนี้
มีดังนี้

พาเที่ยวห้องสมุดด้วยภาพ – ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ซอยพระนาง

พาเที่ยวห้องสมุดด้วยภาพ – ห้องสมุดโรงเรียนสารวิทยา

หนังสือเด่นประจำเดือน -? หนังสือพระนิพนธ์ โดย สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา

เรื่องพิเศษประจำฉบับ – ผมเป็นผมทุกวันนี้เพราะห้องสมุด

เรื่องพิเศษประจำฉบับ – ห้องสมุดเป็นหัวใจของโรงเรียน

เยี่ยมภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ – บทสัมภาษณ์? รองศาสตราจารย์ สุพัฒน์ ส่องแสงจันทร์?? มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

บรรณารักษ์ – ห้องสมุดประชาชนห้องสมุดของทุกคน

บรรณารักษ์ – การพัฒนาห้องสมุดโรงเรียนแนวคิดใหม่

ท่องเที่ยว ดูงาน – ห้องสมุดในสหรัฐอเมริกา

ท่องเที่ยว ดูงาน – มรดกความทรงจำด้านภาพและเสียง (ตอนจบ)

บทความ เรื่องสั้น เรื่องแปล – เขียนทำไม? (2)

บทความ เรื่องสั้น เรื่องแปล – ห้องสมุดประธานาธิบดี

จากชั้น(หนังสือ) สู่..จอ – Flowers for Algernon

เรื่องดีๆ มีประโยชน์แบบนี้ผมเลยต้องขอบอกต่อ
ยังไงก็เป็นกำลังใจให้ทีมงานนิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์นะครับ

เว็บไซต์บรรณารักษ์ออนไลน์ : http://www.librarianmagazine.com

นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ ปี 1 เล่ม 2 :
http://www.librarianmagazine.com/VOL1NO2/index.html

LibrarianMagazine ปีที่ 1 เล่ม 1

นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ ปี 1 เล่มที่ 1
ออนไลน์ครั้งแรกวันที่ 1 ธันวาคม 2550

libmag11

แค่เล่มเปิดตัวก็มีเนื้อหาเยอะเลยนะครับ
เอาเป็นว่าลองเข้าไปดูกันเลยดีกว่าว่าใน นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ จะมีเนื้อหาอะไรที่น่าสนใจบ้าง

เนื้อหาในนิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ มีดังนี้

พาเที่ยวห้องสมุดด้วยภาพ – สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

พาเที่ยวห้องสมุดด้วยภาพ – สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยศรีปทุม

พาเที่ยวห้องสมุดด้วยภาพ – อาคารการเรียนรู้ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

เยี่ยมภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ – บทสัมภาษณ์? ผศ.ดวงกมล อุ่นจิตติ มหาวิทยาลัยบูรพา

บรรณารักษ์ – บรรณารักษ์นักเขียน (1)

บรรณารักษ์ – หนึ่งวันกับบรรณารักษ์

บรรณารักษ์ – Military library

ท่องเที่ยว ดูงาน – มรดกความทรงจำด้านภาพและเสียง (1)
หอสมุดแห่งชาติ และหอจดหมายเหตุแห่งชาติลาว

ข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ – ICT กับของฟรีที่คนไทยชอบ

ข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ – งานประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2550

บทความ เรื่องสั้น เรื่องแปล – ฝรั่งเศสเปิดตัว ห้องสมุดดิจิทัลภาษาฝรั่งเศส

บทความ เรื่องสั้น เรื่องแปล – มีลูกเล่นบ้าง ใช่ทำแต่งานอย่างเดียว

จากชั้น(หนังสือ) สู่..จอ – ข้างหลังภาพ โดย คนเดินตั๋ว

ธุรกิจและบริการสำหรับห้องสมุด – ธุรกิจฐานข้อมูลในประเทศไทย

ธุรกิจและบริการสำหรับห้องสมุด – Booknet เวลาเป็นเครื่องพิสูจน์

นี่เป็นเพียงปฐมบทแห่งการเริ่มต้นนิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์เท่านั้นนะครับ
ยังไงก็ลองติดตามอ่านในเล่มอื่นๆ ด้วยนะครับ คุณภาพเขาคัดจริงๆ เล่มนี้

เว็บไซต์บรรณารักษ์ออนไลน์ :
http://www.librarianmagazine.com

นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ ปี 1 เล่ม 1 : http://www.librarianmagazine.com/VOL1NO1/index.html

แนะนำนิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ (LibrarianMagazine)

หากพูดถึงวงการนิตยสารออนไลน์ และวารสารออนไลน์
ปัจจุบันกำลังเป็นที่นิยมอย่างมากเลยนะครับ

ภาพแสดงแนวความคิดของนิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ ก่อนเปิดตัวครั้งแรก
ภาพแสดงแนวความคิดของนิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ ก่อนเปิดตัวครั้งแรก

ในวงการบรรณารักษ์ของพวกเราก็มีนิตยสารออนไลน์เช่นเดียวกัน
ซึ่งนิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์ในเมืองไทย มีชื่อว่า “LibrarianMagazine

ข้อมูลที่ผมจะนำเสนอในตอนนี้คือ ข้อมูลก่อนการเปิดตัวของนิตยสารเล่มนี้
(เป็นข้อมูลที่ผมเคยเขียนเมื่อเดือนตุลาคม 2550)

นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์จะเปิดตัวครั้งแรกในเดือนธันวาคม 2550 นะครับ

ซึ่งถือว่าเป็นนิตยสารบรรณารักษ์ นิตยสารออนไลน์ฉบับแรกของวงการบรรณารักษ์ไทย

แนวความคิดเดิมก่อนการเปิดตัว ทางผู้จัดทำได้วางประเด็นไว้ 7 ส่วน ดังนี้

1. Librarian Travel & Learning
จะเล่าเรื่องราวประสบการณ์ในการเดินทางท่องเที่ยวและดูงานของบรรณารักษ์

2. Librarian Web Board
พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทำงาน และประชาสัมพันธ์เรื่องราวต่างๆ ของบรรณารักษ์

3. Librarian Buyer Guide
รวบรวมข้อมูลธุรกิจที่มีความเกี่ยวข้องกับห้องสมุด เช่น ร้านหนังสือ ระบบงานห้องสมุด ครุภัณฑ์ในห้องสมุด

4. News & Update
ข่าวและข้อมูลอัพเดทในวงการบรณารักษ์และห้องสมุด

5. New Books & Journals
แนะนำหนังสือขายดีทั้งในประเทศและต่างประเทศ

6. บทสัมภาษณ์
สัมภาษณ์บุคคลในวงการห้องสมุด (ในเล่มแรกสัมภาษณ์ รศ.ดร.น้ำทิพย์ วิภาวิน)

7. Library Photo Gallery

รวบรวมภาพห้องสมุดสวยๆ

เอาเป็นว่าแนวความคิดในการจัดทำค่อนข้างชัดเจนในจุดประสงค์ดีนะครับ
เดี๋ยวผมจะนำ นิตยสารบรรณารักษ์ออนไลน์มา ไว้ใน LibraryHub ทุกฉบับ
เพื่อให้เพื่อนๆ ได้ติดตามได้ง่ายขึ้นด้วย แล้วเจอกันนะครับ

ปล. ผมไม่ได้เป็นผู้จัดทำนะครับ แต่ผมเป็นช่องทางในการเข้าถึงเฉยๆ