เมื่อผู้ใช้บริการต้องการทั้งความเงียบและความไม่เงียบในห้องสมุด

เมื่อผู้ใช้บริการต้องการทั้งความเงียบและความไม่เงียบในห้องสมุด

“จุ๊ จุ๊ จุ๊ … ที่นี่ห้องสมุดนะ อย่าทำเสียงดังรบกวนคนอื่นสิครับ”
“ชู่ส์… เงียบๆ กันหน่อย ที่นี่ห้องสมุดนะ”

ประโยคยอดฮิตของเหล่าบรรณารักษ์ที่คอยพิทักษ์ความเงียบกริบในห้องสมุด

จากประโยคข้างต้นในอดีตจนถึงปัจจุบัน ทำให้ภาพลักษณ์ของห้องสมุดต้องเป็นสถานที่ที่เงียบกริบเท่านั้น ซึ่งหากเราทำความเข้าใจถึงอดีต เราจะทราบว่า ภายในห้องสมุดจะแต่งไปด้วยหนังสือวิชาการ และผู้คนที่เข้าไปใช้ก็ล้วนแล้วแต่จะต้องอ่านหนังสือในสถานที่แห่งนี้ และต้องการสมาธิสูงมากๆ เพื่อจะเรียนรู้ให้แตกฉาน และห้องสมุดก็เป็นสถานที่แบบนี้มาจนถึงปัจจุบัน

Read more
10 เรื่องที่จะทำให้คุณประสบความสำเร็จได้โดยไม่จำเป็นต้องใช้ทักษะความสามารถ

10 เรื่องที่จะทำให้คุณประสบความสำเร็จได้โดยไม่จำเป็นต้องใช้ทักษะความสามารถ

เรื่องที่เขียนวันนี้มาจากการอ่านหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันที่ 28 ตุลาคม 2562 ในคอลัมน์ Leading for the future ซึ่งเขียนเรื่อง “งานเข้า” แต่ซึ่งที่ผมสนใจมากกว่าเรื่องนี้ คือ ผู้เขียนได้กล่าวถึง “The 10 Things that Require Zero Talent” หรือ “10 เรื่องที่จะทำให้คุณประสบความสำเร็จได้โดยไม่จำเป็นต้องใช้ทักษะความสามารถ” (ในบทความของหนังสือพิมพ์วันนี้กล่าวเพียงข้อแรกข้อเดียว) ซึ่งผมจึงหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องนี้ต่อว่า 10 เรื่องที่ว่ามีอะไรบ้าง

Read more
ห้องสมุดก็ช่วยให้คุณดูดีก่อนไปสัมภาษณ์งานได้

ห้องสมุดก็ช่วยให้คุณดูดีก่อนไปสัมภาษณ์งานได้

เมื่อเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา ผมได้เขียนบล็อกเรื่อง “LIBRARY OF THINGS : ห้องสมุดที่ให้ยืมทุกสรรพสิ่ง” จำได้ว่าผมเขียนถึงรูปแบบการให้บริการยืมคืนสิ่งของที่คุณสามารถนำสิ่งต่างๆ ที่ยืมไปใช้เพื่อการเรียนรู้ได้ (การเรียนรู้จากการปฏิบัติก็สำคัญ)

วันนี้ผมมีสิ่งของอีกกลุ่มหนึ่งที่ห้องสมุดเริ่มนำมาให้บริการ นั่นก็คือ สิ่งที่ของที่จะทำให้คุณดูดีก่อนคุณจะไปสัมภาษณ์งาน เช่น “เนคไท กระเป๋าเอกสาร กระเป๋าใส่โน้ตบุ๊ค”

Read more
ทักษะที่จำเป็นสำหรับบรรณารักษ์ทุกคน

ทักษะที่จำเป็นสำหรับบรรณารักษ์ทุกคน

วันนี้เปิดอ่านข่าวในหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันที่ 21 ตุลาคม 2562 แล้วเจอคอลัมน์หนึ่ง “ก้าวไกลวิสัยทัศน์” ซึ่งเขียนโดย ดร.บวร ปภัสราทร (อาจารย์ที่เคยสอนปริญญาโทผมตอนที่อยู่ KMUTT) วันนี้ท่านเขียนเรื่อง “ทักษะที่จำเป็นสำหรับคนทุกยุค” ผมจึงขอนำมาต่อยอดและอธิบายให้บรรณารักษ์ได้อ่านกันต่อด้านล่างนี้นะครับ

ช่วงเวลานี้เป็นช่วงเวลาที่หลายท่านได้ยินคำว่า AI หรือ ปัญญาประดิษฐ์กันบ้างแล้ว และนอกจากการที่ได้ยินคำๆ นี้บ่อยขึ้น ความฉลาดและความสามารถของ AI ก็ถูกพัฒนามากขึ้นเช่นกัน จนบ่อยครั้งที่ผมไปบรรยายให้พี่น้องชาวบรรณารักษ์ฟังจะต้องมีคำถามว่า “แล้วเราจะถูกแทนที่ด้วยหุ่นยนต์หรือไม่”

Read more
Food for Thought : บรรณารักษ์ขี้สงสัยถึงอยู่รอด

Food for Thought : บรรณารักษ์ขี้สงสัยถึงอยู่รอด

อาหารสมองยามเย็นวันนี้มาจากการอ่านนิตยสาร Business+ ฉบับเดือนกันยายน 2562 ซึ่งมีคอลัมน์หนึ่งที่ทำให้ผมต้องหยุดอ่าน คอลัมน์นี้ คือ Management Strategies ซึ่งเขียนเรื่อง “ยุคนี้ (อยู่ให้) รอด ด้วยความขี้สงสัย” และเขียนโดยคุณอริญญา เถลิงศรี (MD ของ SEAC)

“ความขี้สงสัย” คือบ่อเกิดแห่งปัญญา อุปนิสัยพื้นฐานของมนุษย์ตั้งแต่เด็กจนโตเรามักจะชอบตั้งคำถามว่า “ทำไม” อยู่เสมอ

Read more
การนำข้อมูลมาใช้เพื่อขับเคลื่อนห้องสมุด (Data Driven in Library work)

การนำข้อมูลมาใช้เพื่อขับเคลื่อนห้องสมุด (Data Driven in Library work)

ช่วงนี้หลายห้องสมุดกำลังอยู่ในสภาวะที่งุนงงกับบรรดา Buzzword มากมาย และหนึ่งใน Buzzword ที่ได้ยินกันมากๆ คือ Big Data หรือ ข้อมูลขนาดใหญ่ ว่าแต่ข้อมูลในห้องสมุดมีอะไรที่เรียกว่า Big Data บ้าง — คำตอบ คือ ไม่มีข้อมูลที่ขนาดใหญ่แบบนั้นอยู่จริงในห้องสมุดเพียงแห่งเดียว (แต่ถ้าบอกว่าข้อมูลของการใช้ห้องสมุดทั้งประเทศ หรือ ถ้าห้องสมุดทุกแห่งในประเทศเชื่อมโยงกันแล้ว อาจจะมี Big Data จริงๆ ก็ได้)

ถ้าอย่างนั้นห้องสมุดไม่จำเป็นต้องสนใจเรื่อง Data หรือครับ? คำตอบ คือ ไม่ครับ ยังไงก็ต้องสนใจอยู่ดี และปัจจุบัน Data Driven Business หรือ การขับเคลื่อนธุรกิจด้วยข้อมูลกำลังเป็นอีกประเด็นที่น่าสนใจ

Read more
ห้องสมุดมุมมองใหม่ : เปลี่ยน “ห้องเก็บหนังสือ” เป็น “พื้นที่ในการเรียนรู้นอกระบบ”

ห้องสมุดมุมมองใหม่ : เปลี่ยน “ห้องเก็บหนังสือ” เป็น “พื้นที่ในการเรียนรู้นอกระบบ”

วันนี้ได้อ่านบทความ “What makes a successful informal learning space?” แล้วรู้สึกว่าเป็นบทความที่สั้นแต่ได้ใจความที่ลึกซึ้งพอสมควร แถมชี้คุณลักษณะของการทำ “พื้นที่ในการเรียนรู้นอกระบบ” หรือ “Informal Learning Space” ได้อย่างดี

ที่มาของบทความนี้มาจากบทความที่ตีพิมพ์ใน “New Review of Academic Librarianship” ของ Taylor & Francis Online ซึ่งผู้เขียน Deborah Harrop และ Bea Turpin นำกรณีศึกษาจาก Sheffield Hallam University มาเป็นข้อมูลตั้งต้น

Read more
รีวิวหนังสือ “แนวโน้มในการจัดหมวดหมู่สำหรับห้องสมุดในศตวรรษที่ 21”

รีวิวหนังสือ “แนวโน้มในการจัดหมวดหมู่สำหรับห้องสมุดในศตวรรษที่ 21”

หากคิดว่าหนังสือเล่มนี้น่าเบื่อกรุณาออกจากหน้านี้ไปได้เลยครับ เพราะสิ่งที่ผมกำลังจะเล่าต่อจากนี้ มันคือความตื่นเต้นที่ผมได้อ่านหนังสือเล่มนี้ตลอดสองวันที่ผ่านมา….

โลกของการจัดหมวดหมู่หนังสือในวงการบรรณารักษ์ไม่ว่าจะเป็น “การจัดหมวดหมู่หนังสือระบบดิวอี้” “การจัดหมู่หนังสือแบบหอสมุดรัฐสภา” “การจัดหมวดหมู่หนังสือทางการแพทย์” ล้วนแล้วแต่มีจุดกำเนิดมาอย่างยาวนาน ซึ่งนั่นอาจเป็นแนวทางที่ดีที่สุดในยุคนั้น และเราก็ใช้ระบบเหล่านั้นมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งนั่นอาจเป็นแนวทางที่ดีที่สุดในยุคนั้น และเราก็ใช้ระบบเหล่านั้นมาจนถึงปัจจุบัน

การจัดหมวดหมู่หนังสือที่กล่าวมาเริ่มถูกผู้ใช้บริการถามถึงบ่อยขึ้นเรื่อยๆ ว่า “มันยังเป็นการจัดหนังสือที่ยังเหมาะสมกับบริบทในปัจจุบันหรือไม่” และ “บางห้องสมุดใช้ดิวอี้ แบบห้องสมุดใช้แอลซี จริงๆ แล้วมีเงื่อนไขใดในการนำระบบดังกล่าวมาใช้”

Read more
นายห้องสมุดชวนดูวีดีโอ Austin Central Library (ห้องสมุดระดับโลกอีกแห่ง)

นายห้องสมุดชวนดูวีดีโอ Austin Central Library (ห้องสมุดระดับโลกอีกแห่ง)

วันนี้เปิด Youtube เพื่อหาแรงบันดาลใจในการทำห้องสมุด ปรากฎว่าเจอวีดีโอนี้ “A Building Shaped by Light Austin Central Library” ซึ่งความน่าสนใจคือ เป็นภาพยนตร์สารคดีแบบสั้นที่ได้รางวัลที่ 3 ของ AIA Film Challenge 2019

อีกความน่าสนใจ คือ

ตัวห้องสมุดแห่งนี้ = 1 ใน 6 ห้องสมุดที่ได้รับรางวัล “AIA/ALA Library Building Awards 2018”
อ่านข่าวได้จาก https://library.austintexas.gov/press-release/austin-central-library-wins-library-2018-aiaala-library-building-award-461312

Read more
ห้องสมุดประชาชน (Public Libraries) ประเทศ/เมืองไหนถูกยืมหนังสือมากที่สุด

ห้องสมุดประชาชน (Public Libraries) ประเทศ/เมืองไหนถูกยืมหนังสือมากที่สุด

วันนี้ขอนำสถิติที่น่าสนใจของวงการห้องสมุดโลกมาให้เพื่อนๆ อ่าน

“ทราบหรือไม่ครับว่า “ห้องสมุดประชาชน หรือ Publib library เมืองไหนที่มีจำนวนการยืมหนังสือสูงที่สุดในโลก ข้อมูลจาก World Economic Forum”

วันนี้ผมไปเจอข้อมูลนี้ที่เว็บไซต์ของ World Economic Forum ในเรื่อง “Where do libraries loan out the most books?” ซึ่งที่มาของข้อมูลก็มาจากเว็บไซต์ statista ซึ่งทาง World Economic Forum ก็รวบรวมและดึงเฉพาะการยืมหนังสือในห้องสมุดของประเทศต่างๆ (ข้อมูลบางประเทศอัพเดทถึงปี 2018 แต่บางประเทศยังอัพเดทไม่ถึงปี 2018 และหนักกว่านั้นคือไม่อัพเดทตั้งแต่ปี 2013 ก็มี) แต่เพื่อให้เห็นภาพรวมจึงได้ทำข้อมูลออกมาตามภาพด้านล่างนี้

Read more