รู้จักเจ้าของบล็อก

ข้อมูลส่วนตัว
ชื่อ : เมฆินทร์ ลิขิตบุญฤทธิ์
ชื่อเล่น : วาย
วันเดือนปีเกิด : 29 กันยายน 2525
บ้านเกิด : กรุงเทพฯ

ข้อมูลการติดต่อ
ที่อยู่ : 442  ซ.เพชรเกษม 94 ถ.เพชรเกษม บางแคเหนือ บางแค กทม 10160
เบอร์โทรศัพท์บ้าน : –
เบอร์โทรมือถือ : –
อีเมล์ : dcy_4430323@hotmail.com หรือ libraryhub@hotmail.com

ข้อมูลการศึกษา
อนุบาล : อนุบาลเด่นหล้า
ระถมศึกษา : โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี
มัธยมศึกษาต้น : โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี
มัธยมศึกษาปลาย : โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี สายศิลป์-คำนวณ
ปริญญาตรี : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เอกบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
ปริญญาโท : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

ข้อมูลการทำงาน

ฝึกงาน 1
สถานที่ : ห้องสมุดมูลนิธิญี่ปุ่น (Library, Japan Foundation)
ตำแหน่ง : บรรณารักษ์
ระยะเวลาในการฝึกงาน : 2 เดือน

ฝึกงาน 2
สถานที่ : โครงการศูนย์กลางความรู้แห่งชาติ (Thailand Knowledge Center) 2 เดือน
ตำแหน่ง : นักพัฒนา web content, ผู้ประสานงานโครงการ
ระยะเวลาในการฝึกงาน : 2 เดือน

ทำงาน 1
สถานที่ : โครงการศูนย์กลางความรู้แห่งชาติ (Thailand Knowledge Center) 2 เดือน
ตำแหน่ง : นักพัฒนา web content, ผู้ประสานงานโครงการ
ระยะเวลาในการฝึกงาน : 2 เดือน

ทำงาน 2
สถานที่ : บริษัท แกรนด์มีเดียเน็ตเวิร์ค จำกัด (ในเครือฐานเศรษฐกิจ)
ตำแหน่ง : Graphic Designer
ระยะเวลาในการทำงาน : 1 ปี 3 เดือน

ทำงาน 3
สถานที่ : วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม
ตำแหน่ง : บรรณารักษ์ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระยะเวลาในการทำงาน : 1 ปี 3 เดือน

ทำงาน 4
สถานที่ : บริษัท สนุก ออนไลน์ จำกัด (www.sanook.com)
ตำแหน่ง : Search specialist
ระยะเวลาในการทำงาน : 1 ปี 3 เดือน

ทำงาน 5
สถานที่ : โครงการศูนย์ความรู้กินได้ สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (OKMD)
ตำแหน่ง : นักพัฒนาระบบห้องสมุด
ระยะเวลาในการทำงาน : 3 ปี 6 เดือน
ทำงาน 6
สถานที่ : สำนักงานอุทยานการเรียนรู้ (TK park)
ตำแหน่ง : นักจัดการความรู้อาวุโส
ระยะเวลาในการทำงาน : 3 ปี 6 เดือน

ผลงานการบรรยาย

ปี 2551

– การสัมมนา “3S กับการจัดการความรู้ของ วศ.” กรมวิทยาศาสตร์บริการ (7 กรกฎาคม 2551)
– โครงการสัมมนาชมรมห้องสมุดเฉพาะ ประจำปี 2551 หัวข้อ “การสร้าง การค้น การอ่าน การแลกเปลี่ยน” ชมรมห้องสมุดเฉพาะ สมาคมห้องสมุดฯ (29 สิงหาคม 2551)
– งานรวมพลคนเขียนบล็อก WordPress ครั้งที่ 1 (” Wordcamp#1) หัวข้อ “Inspiration Showcase Blog” (21 ตุลาคม 2551)

ปี 2552

– เสวนาหัวข้อ “มาใช้เวลาว่างเขียน Blog เพิ่มรายได้กันเถอะ” จัดโดย www.dekads.com (8 มกราคม 2552)
– งานสัมมนาอย่างไม่เป็นทางการ THINKCamp#1 หัวข้อ “ProjectLib กับการเปิดมุมมองใหม่ของห้องสมุด” (28 กุมภาพันธ์ 2552)
– งานสัมมนาเครือข่ายบรรณารักษ์ยุคใหม่ (Libcamp#1) หัวข้อ “Projectlib กับการจัดการ Community” (30 เมษายน 2552)
– งานสัมมนาเครือข่ายบรรณารักษ์ยุคใหม่ (Libcamp#3) หัวข้อ “ความร่วมมือระหว่างอาสาสมัครกับบรรณารักษ์” (27 กันยายน 2552)
– งานสัมมนาอย่างไม่เป็นทางการ THINKCamp#2 หัวข้อ “เพราะว่าออกแบบเว็บไซต์ห้องสมุดแบบนี้ไงเลยไม่มีคนเข้ามาใช้เว็บไซต์คุณ” (14 พฤศจิกายน 2552)
– งานรวมพลคนเขียนบล็อก WordPress ครั้งที่ 2 (” Wordcamp#2) หัวข้อ “แรงบันดาลใจในการเขียนบล็อก” (15 พฤศจิกายน 2552)

ปี 2553

– สัมมนาเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “ชั้นหนังสือออนไลน์ ที่คุณก็สามารถสร้างได้” จัดโดยเครือข่ายจิตอาสา (24 มกราคม 2553)
– สัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หัวข้อ “Cybrarian บรรณารักษ์กับการให้บริการในยุค Social Network” ณ ห้องสมุดคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (30 สิงหาคม 2553)
– สัมมนา หัวข้อ “หลากมุมมองของนักวิชาชีพสารนิเทศ” ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (6 กันยายน 2553)
– วิชาสัมมนา “ประสบการณ์การทำงานด้านห้องสมุดและบรรณารักษ์” บรรยายให้นักศึกษาชั้นปีที่ 3 เอกบรรณารักษ์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (21 ธันวาคม 2553)
– สัมมนาเชิงปฏิบัติการ “การใช้เครื่องมือออนไลน์ในการปฏิบัติงานห้องสมุด”เครือข่ายห้องสมุดจังหวัดอุบลราชธานี ณ ห้องสมุดประชาชนจังหวัดอุบลราชธานี (15-16 ธันวาคม 2553)
– การอบรม “บรรณารักษ์ยุคใหม่กับเครือข่ายสังคมออนไลน์” ณ โรงเรียนนานาชาติบางกอกพัฒนา  (21 ธันวาคม 2553)

ปี 2554

– เสวนา หัวข้อ “จะก้าวให้ทันกับสื่อทางออนไลน์ยุคใหม่ได้อย่างไร” จัดโดย มหาวิทยาลัยรังสิต (12 มกราคม 2554)
– งานสัมมนาเครือข่ายบรรณารักษ์ยุคใหม่ ณ จังหวัดอุบลราชธานี (LibcampUbon#1) หัวข้อ “ทำไมห้องสมุดต้องตามให้ทันสื่อยุคใหม่” (3 กุมภาพันธ์ 2554)
– การอบรมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาทักษะด้านไอทีให้ครู กศน. จังหวัดอุบลราชธานี” จัดโดย กศน.เมือง อุบลราชธานี (4 กุมภาพันธ์ 2554)
– การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “Facebook กับการตลาด 2.0” ณ ศูนย์ความรู้กินได้ ห้องสมุดประชาชนจังหวัดอุบลราชธานี (5 กุมภาพันธ์ 2554)
– งานสัมมนา หัวข้อ “ทักษะไอทีที่บรรณารักษ์ทุกคนควรรู้ ฉบับแก้ไข” ณ อุทยานการเรียนรู้ (TK park) (16 กุมภาพันธ์ 2554)
– การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “Twitter กับการตลาด 2.0” ณ ศูนย์ความรู้กินได้ ห้องสมุดประชาชนจังหวัดอุบลราชธานี (5 มีนาคม 2554)
– การบรรยายหัวข้อ “ทักษะไอทีสำหรับบรรณารักษ์” ณ โรงเรียนวัดนาค (15 มีนาคม 2554)
– สัมมนาเชิงปฏิบัติการ “ปั้นเว็บไซต์ห้องสมุดยังไงให้ถูกใจผู้ใช้บริการ” ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ (5 เมษายน 2554)
– งานสัมมนา หัวข้อ “การพัฒนาเครือข่ายห้องสมุดไทยคิด ด้วยชุมชนห้องสมุดไทยคิด” ณ อุทยานการเรียนรู้ (TK park) (20 เมษายน 2554)
– การอบรมเชิงปฏิบัติการ “โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพบรรณารักษ์สู่ e-Librarians” สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (3 พฤษภาคม 2554)
– งานสัมมนา หัวข้อ “ICT กับงานห้องสมุดมีชีวิตในโรงเรียน” ณ อุทยานการเรียนรู้ (TK park)(4 พฤษภาคม 2554)
– การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “ขายของออนไลน์ไม่ยากอย่างที่คิด” ณ โครงการศูนย์ความรู้กินได้ ห้องสมุดประชาชนจังหวัดอุบลราชธานี (14 พฤษภาคม 2554)
– งานสัมมนาเครือข่ายบรรณารักษ์ยุคใหม่ ณ จังหวัดอุบลราชธานี (LibcampUbon#2) หัวข้อ  “กรณีศึกษา : สื่อสารสนเทศท้องถิ่นบนเว็บไซต์ห้องสมุดเมืองไทย” ณ โครงการศูนย์ความรู้กินได้ ห้องสมุดประชาชนจังหวัดอุบลราชธานี (26 พฤษภาคม 2554)
– วิชาสัมมนา “แนวคิดและประสบการณ์ทางด้านห้องสมุดและวิชาชีพบรรณารักษ์” จัดโดย ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ  (13 มิถุนายน 2554)
– งานสัมมนา หัวข้อ “กิจกรรมห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ในห้องสมุดประชาชน และเรื่องเทคนิคการจัดกิจกรรมห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ในห้องสมุดประชาชน” จัดโดย สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี (8 กรกฎาคม 2554)
– การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “การพัฒนาทักษะด้าน IT สำหรับบรรณารักษ์ยุคใหม่” มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (12 กรกฎาคม 2554)
– วิชาสัมมนา “เส้นทางสู่อาชีพนักสารสนเทศ” จัดโดย คณะมนุษยศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยบูรพา (14 กรกฎาคม 2554)
– งานสัมมนา หัวข้อ “การจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดการแพทย์” ณ โรงพยาบาลเลิศสิน กรมการแพทย์ วันที่ 2-3 สิงหาคม 2554
– วิชาสัมมนา “นักสารสนเทศยุคใหม่กับเครือข่ายทางสังคม (social networking)” ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม (7 กันยายน 2554)
– การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “การสร้างเว็บไซต์ส่วนตัวด้วยบล็อก และการสร้าง Facebook Fanpage ด้วยตนเอง” จัดโดย โรงพยาบาลเลิศสิน กรมการแพทย์  (9 กันยายน 2554)
– งานสัมมนา หัวข้อ “นวัตกรรมและเทคโนโลยีในห้องสมุดโรงเรียน” โรงเรียนค้อวังวิทยาคม (19 กันยายน 2554)

ปี 2555

– การบรรยาย หัวข้อ “นวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์ ห้องสมุดโรงเรียน” ณ มหาวิทยาลัยคริสเตียน (20 มกราคม 2555)
– การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “Facebook Fanpage สำหรับโครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน” ณ สำนักงานโครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ (16 กุมภาพันธ์ 2555)
– การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “Facebook Fanpage สำหรับวงการห้องสมุดและบรรณารักษ์” ณ ห้องสมุดนงเยาว์ ชัยเสรี (25 มีนาคม 2555)
– การบรรยาย หัวข้อ “บทบาทของนักจัดการความรู้ – การสร้างและจัดการเครือข่ายสังคมออนไลน์” ณ โครงการศูนย์ความรู้กินได้ (26 เมษายน 2555)
– การบรรยาย หัวข้อ “การจัดทำชุดประมวลความรู้ – การเชื่อมโยงองค์ความรู้” ณ โครงการศูนย์ความรู้กินได้ (26 เมษายน 2555)
– การบรรยาย หัวข้อ “สื่อสังคมออนไลน์กับงานห้องสมุดประชาชน” ณ สำนักงาน กศน. จังหวัดร้อยเอ็ด (2 พฤษภาคม 2555)
– การบรรยาย หัวข้อ “นวัตกรรมการบริหารห้องสมุดยุคใหม่” ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี (4 พฤษภาคม 2555)
– การบรรยาย หัวข้อ “ไอซีทีสำหรับบรรณารักษ์ศตวรรษที่ 21” จัดโดย สพฐ. (7 มิถุนายน 2555)
– การบรรยาย หัวข้อ “สื่อสังคมออนไลน์กับการใช้งานในห้องสมุด – จากแนวคิด 2.0 สู่การปฏิบัติเพื่อก้าวไปสู่ห้องสมุดมีชีวิต” ณ โรงแรมเวียงลคอร จัดโดย อุทยานการเรียนรู้ (TK park) (20 มิถุนายน 2555)
– การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “มาสร้างสื่อดิจิทัลง่ายๆ บนโลกออนไลน์” จัดโดย อุทยานการเรียนรู้ (TK park) (30 มิถุนายน 2555)
– แลกเปลี่ยนประสบการณ์และแลกเปลี่ยนไอเดีย “สื่อสังคมออนไลน์กับการนำมาใช้ปฏิบัติงาน” จัดโดย กลุ่มมะขามป้อม (4 กรกฎาคม 2555)
– การบรรยาย หัวข้อ “ทำงานห้องสมุดอย่างสนุก…ด้วยสื่อสังคมออนไลน์” ณ อุทยานการเรียนรู้ยะลา (30 กรกฎาคม 2555)
– การบรรยาย หัวข้อ “ทักษะและความรู้ด้านไอทีที่บรรณารักษ์และคุณครูควรรู้” ณ อุทยานการเรียนรู้ยะลา (31 กรกฎาคม 2555)
– การบรรยาย หัวข้อ “ไอซีทีสำหรับบรรณารักษ์ศตวรรษที่ 21” จัดโดย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จังหวัดชลบุรี (8 สิงหาคม 2555)
– งานสัมมนา หัวข้อ “บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน” ณ ธนาคารแห่งประเทศไทย (10 สิงหาคม 2555)
– โครงการประชุมวิชาการเรื่อง “Social Networking กับสังคมการเรียนรู้ยุคใหม่” จัดโดย สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ (20 สิงหาคม 2555)
– การสัมมนา หัวข้อ “แนวทางในการใช้งาน Facebook สำหรับผู้ปฏิบัติงานห้องสมุด” ณ อุทยานการเรียนรู้ (TK park) (30 สิงหาคม 2555)
– การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “ห้องสมุดยุคไอที ครูทำได้ง่ายนิดเดียว” ณ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎกำแพงเพชร (1 กันยายน 2555)
– การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสังคมออนไลน์สำหรับนักสารสนเทศยุคใหม่” ณ อุทยานการเรียนรู้ (TK park) (25 กันยายน 2555)
– การบรรยาย หัวข้อ “การรวบรวมและเชื่อมโยงความรู้ด้านการทำมาหากิน – มุมความรู้สู่การทำมาหากิน” ณ อุทยานการเรียนรู้ (TK park) (26 กันยายน 2555)
– งานสัมมนา หัวข้อ “การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการส่งเสริมการอ่าน” จัดโดย สพฐ. (2 ตุลาคม 2555)

ผลงานในวงการบรรณารักษ์
– ผู้ก่อตั้งกลุ่มเครือข่ายบรรณารักษ์ไทยใน Hi5
– ผู้จัดงานสัมมนาเครือข่ายบรรณารักษ์ยุคใหม่ (Libcamp#1)
– ผู้จัดงานสัมมนาเครือข่ายบรรณารักษ์ยุคใหม่ (Libcamp#2)
– ผู้จัดงานสัมมนาเครือข่ายบรรณารักษ์ยุคใหม่ (Libcamp#3)
– ผู้จัดงานสัมมนาเครือข่ายบรรณารักษ์ยุคใหม่ ณ จังหวัดอุบลราชธานี (LibcampUbon#1)
– ผู้จัดงานสัมมนาเครือข่ายบรรณารักษ์ยุคใหม่ ณ จังหวัดอุบลราชธานี (LibcampUbon#2)
– ผู้ก่อตั้งกลุ่มเครือข่ายบรรณารักษ์ไทยใน Facebook
– ผู้จัดทำหน้าเพจเครือข่ายห้องสมุดและบรรณารักษ์ไทย

การจัดการชุมชนบรรณารักษ์
– บล็อก 1 : http://projectlib.wordpress.com
– บล็อก 2 : http://www.projectlib.in.th
– บล็อก 3 : http://www.libraryhub.in.th
– Hi5 กลุ่ม Librarian in Thailand
– Facebook กลุ่ม Librarian in Thailand
– Facebook Page : เครือข่ายห้องสมุดและบรรณารักษ์ไทย
– MSN ตอบคำถาม : dcy_4430323@hotmail.com
– Skype ตอบคำถาม : Projectlib
– Flickr รูปห้องสมุด : http://www.flickr.com/photos/38091988@N04/

ชื่อ

เมฆินทร์ ลิขิตบุญฤทธิ์

เพศ

ชาย

วันเกิด

29 กันยายน 2525

สถานภาพสมรส

สมรส

ภูมิลำเนา

กรุงเทพฯ

ที่อยู่

442 ซอยเพชรเกษม 94 ถนนเพชรเกษม แขวงบางแคเหนือ

เขตบางแค กรุงเทพฯ 10160

โทรศัพท์ 0-2420-9793

โทรศัพท์มือถือ 08-6500-8809

อีเมล์ : dcy_4430323@hotmail.com

เว็บไซต์ : www.libraryhub.in.th

อาชีพ

นักจัดการความรู้อาวุโส ฝ่ายพัฒนาเครือข่าย

สำนักงานอุทยานการเรียนรู้ (TK Park)

การศึกษา

ระดับประถม

.1 – .6 โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี

.. 2532 – 2537

ระดับมัธยม

.1 – .6 โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี

.. 2538 – 2543

ระดับอุดมศึกษา

ปริญญาตรี เกรดเฉลี่ย 3.18 (บรรณารักษศาสตร์)

ศิลปศาสตร์บัณฑิต

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ปริญญาโท เกรดเฉลี่ย 3.67 (เทคโนโลยีสารสนเทศ)

วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต

มหาวิยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

.. 2544 – 2547

พ.ศ. 2549 – 2554

ระดับหลังปริญญา

TOEIC examination From ETS (score = 710)

8 สิงหาคม พ.ศ. 2554

การฝึกงาน

ฝึกงาน 1

ห้องสมุดมูลนิธิญี่ปุ่น (Japan Foundation)

ตำแหน่ง ผู้ช่วยบรรณารักษ์

.. 2543

ฝึกงาน 2

โครงการศูนย์กลางความรู้แห่งชาติ

(Thailand Knowledge Center – TKC)

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ตำแหน่ง นักพัฒนาเว็บ Content และผู้ประสานงาน CoPs

.. 2544

การทำงาน

สำนักงานอุทยานการเรียนรู้ กรกฎาคม 2555 – ปัจจุบัน

ตำแหน่ง : นักจัดการความรู้อาวุโส ฝ่ายพัฒนาเครือข่าย

งานที่ได้รับมอบหมาย

– ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำยุทธศาสตร์ เพื่อสร้างเครือข่ายขยายผล และถ่ายทอดองค์ความรู้ของห้องสมุดมีชีวิตรูปแบบอุทยานการเรียนรู้ไปยังภูมิภาค ท้องถิ่น และพื้นที่ที่มีหน่วยงานสนใจ ทั้งเชิงรับและเชิงรุก

กำหนดทิศทาง แนวคิด และการวางแผนการดำเนินงานเพื่อส่งเสริมการอ่าน การเรียนรู้ สนับสนุนการสร้างสรรค์และเผยแพร่สาระท้องถิ่นให้แก่หน่วยงานเครือข่าย

จัดทำแผนงานและงบประมาณโครงการและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเครือข่าย

– ดำเนินการและสนับสนุนงานขยายผลอุทยานการเรียนรู้ไปยังท้องถิ่นและชุมชนระดับต่างๆ เช่น จังหวัด ตำบล และหน่วยงานอื่นๆ เพื่อส่งเสริมการจัดทำและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น

โครงการศูนย์ความรู้กินได้ มกราคม 2552 – มิถุนายน 2555

สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้

ตำแหน่ง : นักพัฒนาระบบห้องสมุด

งานที่ได้รับมอบหมาย

– วิเคราะห์และกำหนดยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่ตอบโจทย์เรื่องการนำความรู้มาใช้เพื่อการทำมาหากินให้กับประชาชนในท้องถิ่น

จัดทำต้นแบบแหล่งเรียนรู้ภายใต้โครงการ “ศูนย์ความรู้กินได้” ให้กับห้องสมุดประชาชนจังหวัดอุบลราชธานี

พัฒนายุทธศาสตร์ รูปแบบ และกระบวนการจัดทำต้นแบบแหล่งเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ

จัดทำแผนงานและการบริหารโครงการและกิจกรรม ด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้รวมถึงการพัฒนาบุคลากรและการพัฒนาองค์ความรู้

วิเคราะห์องค์ความรู้ด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้และความรู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อนำมาจัดทำเป็นคู่มือสำหรับการถ่ายทอดและขยายผลการดำเนินงานให้หน่วยงานภาคีเครือข่ายพัฒนาข้อมูลรูปแบบต่างๆ ในระบบบรรณานุกรมตามมาตรฐานสากล

เผยแพร่ ถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องการสร้างแหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสมตามบริบทของท้องถิ่นให้กับเครือข่ายห้องสมุดและบรรณารักษ์ยุคใหม่ผ่านกิจกรรมออฟไลน์และออนไลน์

จัดทำแผนงานและบริหารเนื้อหาสาระในเว็บไซต์ของศูนย์ความรู้กินได้ (http://www.kindaiproject.net) ให้มีความน่าสนใจ

บริษัท สนุกออนไลน์ จำกัด (www.sanook.com) กันยายน 2549 – ธันวาคม 2551

ตำแหน่ง : Search Specialist

งานที่ได้รับมอบหมาย

– บริหารและจัดการระบบสารบัญเว็บไทยของเว็บไซต์ Sanook.com (http://dir.sanook.com)

– บริหารและจัดการระบบสืบค้นของเว็บไซต์ Sanook.com (http://search.sanook.com)

ให้บริการตอบคำถามที่เกี่ยวข้องกับการสืบค้นข้อมูลภายใต้เว็บไซต์ Sanook.com ผ่านทางโทรศัพท์ อีเมล์ และโปรแกรมสนทนาออนไลน์

– วิเคราะห์พฤติกรรมของผู้ใช้บริการที่เกี่ยวข้องกับการสืบค้นข้อมูลบน Search Engine เช่น การใช้คำสืบค้น ข้อมูลที่ต้องการสืบค้น ช่วงเวลาที่ใช้สืบค้น และนำข้อมูลที่ได้มาพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการสืบค้นในรูปแบบใหม่ๆ

– เผยแพร่ข้อมูลที่น่าสนใจของเว็บไซต์ Sanook.com ผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ในรูปแบบต่างๆ เช่น ข้อความ เพลง วีดีโอ ฯลฯ

วิเคราะห์กระแสความเปลี่ยนแปลงของวงการเว็บไซต์ และนำมาใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์Sanook.com โดยออกแบบเว็บไซต์ Social Bookmark ให้กับเว็บไซต์ Sanook.com ที่ชื่อว่า Tophit (http://tophit.sanook.com)

ศูนย์วิทยบริการ พฤษภาคม 2548 – สิงหาคม 2549

วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม

ตำแหน่ง : บรรณารักษ์ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

งานที่ได้รับมอบหมาย

ดูแลสนับสนุนงานเทคโนโลยีสารสนเทศแก่ผู้ใช้บริการ และเจ้าหน้าที่ของศูนย์วิทยบริการฯ

พัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อให้เจ้าหน้าที่ของศูนย์วิทยบริการฯ ใช้ปฏิบัติงาน และให้ผู้ใช้บริการสืบค้นข้อมูลของหนังสือได้ผ่านทางเว็บไซต์ของศูนย์วิทยบริการฯ

จัดหา หรือจัดทำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อนำมาให้บริการภายในศูนย์วิทยบริการฯ และเผยแพร่บนเว็บไซต์

จัดทำแผนงานและบริหารเนื้อหาสาระในเว็บไซต์ของศูนย์วิทยบริการฯ ให้มีความน่าสนใจ

วิเคราะห์กระแสของความเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อนำเสนอแนวทางในการพัฒนาเว็บไซต์ของหน่วยงาน และการนำเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ๆ มาใช้ในศูนย์วิทยบริการฯ

บริษัท แกรนด์มีเดีย เน็ตเวิร์ค จำกัด เมษายน 2547 – พฤษภาคม 2548

ตำแหน่ง : Graphic Designer

งานที่ได้รับมอบหมาย

– ออกแบบภาพกราฟิกให้นิตยสาร วารสาร หนังสือพิมพ์

– จัดหน้าและวางรูปแบบนิตยสาร วารสาร หนังสือพิมพ์

– ประสานงานกับฝ่ายการขาย บรรณาธิการ และโรงพิมพ์

โครงการศูนย์กลางความรู้แห่งชาติ กุมภาพันธ์ 2547มีนาคม 2547

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ตำแหน่ง : นักพัฒนาเว็บ Content

งานที่ได้รับมอบหมาย

– บริหารจัดการฐานข้อมูลเว็บไซต์ และฐานข้อมูลข่าวกิจกรรม ของเว็บไซต์โครงการศูนย์กลางความรู้แห่งชาติ (Thailand Knowledge Center – http://www.tkc.go.th)

วิเคราะห์หมวดหมู่ข้อมูลเว็บไซต์พร้อมทั้งบันทึกข้อมูลเว็บไซต์ (Metadata) ตามหลักมาตรฐานของ Dublin core

ตรวจสอบปรับปรุงข้อมูลของเว็บไซต์และสถานะของเว็บไซต์ที่ถูกจัดเก็บในฐานข้อมูล

จัดทำดูแลเนื้อหาเว็บไซต์ (Content) ตลอดจนประสานงานด้านต่างๆ เพื่อให้บริการและเผยแพร่เนื้อหาได้ถูกต้องและทันสมัยตลอดเวลา

คัดเลือกเนื้อหา ข่าวกิจกรรม และหัวข้อที่น่าสนใจเพื่อจัดทำลงในเว็บไซต์

ผลงานการบรรยาย

ปี 2551

การสัมมนา 3S กับการจัดการความรู้ของ วศ. กรมวิทยาศาสตร์บริการ (7 กรกฎาคม 2551)

โครงการสัมมนาชมรมห้องสมุดเฉพาะ ประจำปี 2551 หัวข้อ การสร้าง การค้น การอ่าน การแลกเปลี่ยนชมรมห้องสมุดเฉพาะ สมาคมห้องสมุดฯ (29 สิงหาคม 2551)

– งานรวมพลคนเขียนบล็อก WordPress ครั้งที่ 1 (Wordcamp#1) หัวข้อ “Inspiration Showcase Blog” (21 ตุลาคม 2551)

ปี 2552

– เสวนาหัวข้อ มาใช้เวลาว่างเขียน Blog เพิ่มรายได้กันเถอะ จัดโดย www.dekads.com (8 มกราคม 2552)

– งานสัมมนาอย่างไม่เป็นทางการ THINKCamp#1 หัวข้อ ProjectLib กับการเปิดมุมมองใหม่ของห้องสมุด(28 กุมภาพันธ์ 2552)

– งานสัมมนาเครือข่ายบรรณารักษ์ยุคใหม่ (Libcamp#1) หัวข้อ “Projectlib กับการจัดการ Community” (30 เมษายน 2552)

– งานสัมมนาเครือข่ายบรรณารักษ์ยุคใหม่ (Libcamp#3) หัวข้อ ความร่วมมือระหว่างอาสาสมัครกับบรรณารักษ์(27 กันยายน 2552)

– งานสัมมนาอย่างไม่เป็นทางการ THINKCamp#2 หัวข้อ “เพราะว่าออกแบบเว็บไซต์ห้องสมุดแบบนี้ไงเลยไม่มีคนเข้ามาใช้เว็บไซต์คุณ” (14 พฤศจิกายน 2552)

– งานรวมพลคนเขียนบล็อก WordPress ครั้งที่ 2 (Wordcamp#2) หัวข้อ “แรงบันดาลใจในการเขียนบล็อก” (15 พฤศจิกายน 2552)

ปี 2553

– สัมมนาเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “ชั้นหนังสือออนไลน์ ที่คุณก็สามารถสร้างได้” จัดโดยเครือข่ายจิตอาสา (24 มกราคม 2553)

– สัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หัวข้อ “Cybrarian บรรณารักษ์กับการให้บริการในยุค Social Network” ณ ห้องสมุดคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (30 สิงหาคม 2553)

– สัมมนา หัวข้อ “หลากมุมมองของนักวิชาชีพสารนิเทศ” ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (6 กันยายน 2553)

– วิชาสัมมนา “ประสบการณ์การทำงานด้านห้องสมุดและบรรณารักษ์” บรรยายให้นักศึกษาชั้นปีที่ 3 เอกบรรณารักษ์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (21 ธันวาคม 2553)

– สัมมนาเชิงปฏิบัติการ การใช้เครื่องมือออนไลน์ในการปฏิบัติงานห้องสมุดเครือข่ายห้องสมุดจังหวัดอุบลราชธานี ณ ห้องสมุดประชาชนจังหวัดอุบลราชธานี (15-16 ธันวาคม 2553)

– การอบรม บรรณารักษ์ยุคใหม่กับเครือข่ายสังคมออนไลน์ ณ โรงเรียนนานาชาติบางกอกพัฒนา (21 ธันวาคม 2553)

ปี 2554

– เสวนา หัวข้อ จะก้าวให้ทันกับสื่อทางออนไลน์ยุคใหม่ได้อย่างไรจัดโดย มหาวิทยาลัยรังสิต (12 มกราคม 2554)

– งานสัมมนาเครือข่ายบรรณารักษ์ยุคใหม่ ณ จังหวัดอุบลราชธานี (LibcampUbon#1) หัวข้อ ทำไมห้องสมุดต้องตามให้ทันสื่อยุคใหม่(3 กุมภาพันธ์ 2554)

– การอบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาทักษะด้านไอทีให้ครู กศน. จังหวัดอุบลราชธานีจัดโดย กศน.เมือง อุบลราชธานี (4 กุมภาพันธ์ 2554)

– การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ Facebook กับการตลาด 2.0” ณ ศูนย์ความรู้กินได้ ห้องสมุดประชาชนจังหวัดอุบลราชธานี (5 กุมภาพันธ์ 2554)

– งานสัมมนา หัวข้อ ทักษะไอทีที่บรรณารักษ์ทุกคนควรรู้ ฉบับแก้ไข ณ อุทยานการเรียนรู้ (TK park) (16 กุมภาพันธ์ 2554)

– การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “Twitter กับการตลาด 2.0” ณ ศูนย์ความรู้กินได้ ห้องสมุดประชาชนจังหวัดอุบลราชธานี (5 มีนาคม 2554)

– การบรรยายหัวข้อ ทักษะไอทีสำหรับบรรณารักษ์ณ โรงเรียนวัดนาค (15 มีนาคม 2554)

– สัมมนาเชิงปฏิบัติการ ปั้นเว็บไซต์ห้องสมุดยังไงให้ถูกใจผู้ใช้บริการณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ (5 เมษายน 2554)

– งานสัมมนา หัวข้อ การพัฒนาเครือข่ายห้องสมุดไทยคิด ด้วยชุมชนห้องสมุดไทยคิด ณ อุทยานการเรียนรู้ (TK park) (20 เมษายน 2554)

– การอบรมเชิงปฏิบัติการ “โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพบรรณารักษ์สู่ e-Librarians” สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (3 พฤษภาคม 2554)

– งานสัมมนา หัวข้อ “ICT กับงานห้องสมุดมีชีวิตในโรงเรียน ณ อุทยานการเรียนรู้ (TK park) (4 พฤษภาคม 2554)

– การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ ขายของออนไลน์ไม่ยากอย่างที่คิด ณ โครงการศูนย์ความรู้กินได้ ห้องสมุดประชาชนจังหวัดอุบลราชธานี (14 พฤษภาคม 2554)

– งานสัมมนาเครือข่ายบรรณารักษ์ยุคใหม่ ณ จังหวัดอุบลราชธานี (LibcampUbon#2) หัวข้อ กรณีศึกษา : สื่อสารสนเทศท้องถิ่นบนเว็บไซต์ห้องสมุดเมืองไทย ณ โครงการศูนย์ความรู้กินได้ ห้องสมุดประชาชนจังหวัดอุบลราชธานี (26 พฤษภาคม 2554)

– วิชาสัมมนา แนวคิดและประสบการณ์ทางด้านห้องสมุดและวิชาชีพบรรณารักษ์จัดโดย ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (13 มิถุนายน 2554)

– งานสัมมนา หัวข้อ กิจกรรมห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ในห้องสมุดประชาชน และเรื่องเทคนิคการจัดกิจกรรมห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ในห้องสมุดประชาชนจัดโดย สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสต​ร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี (8 กรกฎาคม 2554)

– การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ การพัฒนาทักษะด้าน IT สำหรับบรรณารักษ์ยุคใหม่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (12 กรกฎาคม 2554)

– วิชาสัมมนา เส้นทางสู่อาชีพนักสารสนเท​ศ จัดโดย คณะมนุษยศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยบูรพา (14 กรกฎาคม 2554)

– งานสัมมนา หัวข้อ การจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดการแพทย์ ณ โรงพยาบาลเลิศสิน กรมการแพทย์ วันที่ 2-3 สิงหาคม 2554

– วิชาสัมมนา นักสารสนเทศยุคใหม่กับเครือข่ายทางสังคม (social networking)” ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม (7 กันยายน 2554)

– การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ การสร้างเว็บไซต์ส่วนตัวด้วยบล็อก และการสร้าง Facebook Fanpage ด้วยตนเอง จัดโดย โรงพยาบาลเลิศสิน กรมการแพทย์ (9 กันยายน 2554)

– งานสัมมนา หัวข้อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีในห้องสมุดโรงเรียนโรงเรียนค้อวังวิทยาคม (19 กันยายน 2554)

ปี 2555

– การบรรยาย หัวข้อ “นวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์ ห้องสมุดโรงเรียน” ณ มหาวิทยาลัยคริสเตียน (20 มกราคม 2555)

– การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ Facebook Fanpage สำหรับโครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน” ณ สำนักงานโครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ (16 กุมภาพันธ์ 2555)

– การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ Facebook Fanpage สำหรับวงการห้องสมุดและบรรณารักษ์” ณ ห้องสมุดนงเยาว์ ชัยเสรี (25 มีนาคม 2555)

– การบรรยาย หัวข้อ “บทบาทของนักจัดการความรู้ – การสร้างและจัดการเครือข่ายสังคมออนไลน์” ณ โครงการศูนย์ความรู้กินได้ (26 เมษายน 2555)

– การบรรยาย หัวข้อ “การจัดทำชุดประมวลความรู้ – การเชื่อมโยงองค์ความรู้” ณ โครงการศูนย์ความรู้กินได้ (26 เมษายน 2555)

– การบรรยาย หัวข้อ “สื่อสังคมออนไลน์กับงานห้องสมุดประชาชน” ณ สำนักงาน กศน. จังหวัดร้อยเอ็ด (2 พฤษภาคม 2555)

– การบรรยาย หัวข้อ นวัตกรรมการบริหารห้องสมุดยุคใหม่” ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี (4 พฤษภาคม 2555)

– การบรรยาย หัวข้อ “ไอซีทีสำหรับบรรณารักษ์ศตวรรษที่ 21” จัดโดย สพฐ. (7 มิถุนายน 2555)

การบรรยาย หัวข้อ “สื่อสังคมออนไลน์กับการใช้งานในห้องสมุด – จากแนวคิด 2.0 สู่การปฏิบัติเพื่อก้าวไปสู่ห้องสมุดมีชีวิต” ณ โรงแรมเวียงลคอร จัดโดย อุทยานการเรียนรู้ (TK park) (20 มิถุนายน 2555)

– การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “มาสร้างสื่อดิจิทัลง่ายๆ บนโลกออนไลน์” จัดโดย อุทยานการเรียนรู้ (TK park) (30 มิถุนายน 2555)

– แลกเปลี่ยนประสบการณ์และแลกเปลี่ยนไอเดีย “สื่อสังคมออนไลน์กับการนำมาใช้ปฏิบัติงาน” จัดโดย กลุ่มมะขามป้อม (4 กรกฎาคม 2555)

– การบรรยาย หัวข้อ “ทำงานห้องสมุดอย่างสนุก…ด้วยสื่อสังคมออนไลน์” ณ อุทยานการเรียนรู้ยะลา (30 กรกฎาคม 2555)

– การบรรยาย หัวข้อ “ทักษะและความรู้ด้านไอทีที่บรรณารักษ์และคุณครูควรรู้” ณ อุทยานการเรียนรู้ยะลา (31 กรกฎาคม 2555)

– การบรรยาย หัวข้อ “ไอซีทีสำหรับบรรณารักษ์ศตวรรษที่ 21” จัดโดย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จังหวัดชลบุรี (8 สิงหาคม 2555)

– งานสัมมนา หัวข้อ บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน ณ ธนาคารแห่งประเทศไทย (10 สิงหาคม 2555)

– โครงการประชุมวิชาการเรื่อง “Social Networking กับสังคมการเรียนรู้ยุคใหม่” จัดโดย สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ (20 สิงหาคม 2555)

– การสัมมนา หัวข้อ “แนวทางในการใช้งาน Facebook สำหรับผู้ปฏิบัติงานห้องสมุด” ณ อุทยานการเรียนรู้ (TK park) (30 สิงหาคม 2555)

– การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ ห้องสมุดยุคไอที ครูทำได้ง่ายนิดเดียว” ณ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎกำแพงเพชร (1 กันยายน 2555)

– การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสังคมออนไลน์สำหรับนักสารสนเทศยุคใหม่” ณ อุทยานการเรียนรู้ (TK park) (25 กันยายน 2555)

– การบรรยาย หัวข้อ การรวบรวมและเชื่อมโยงความรู้ด้านการทำมาหากิน – มุมความรู้สู่การทำมาหากิน” ณ อุทยานการเรียนรู้ (TK park) (26 กันยายน 2555)

– งานสัมมนา หัวข้อ การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการส่งเสริมการอ่านจัดโดย สพฐ. (2 ตุลาคม 2555)

ผลงานในวงการบรรณารักษ์

1) ผู้เขียนบล็อกวงการห้องสมุดและบรรณารักษ์ไทย

http://projectlib.wordpress.com, http://www.libraryhub.in.th

2) ผู้จัดงานสัมมนาเครือข่ายบรรณารักษ์ยุคใหม่ (Libcamp#1)

http://www.libraryhub.in.th/2009/05/02/introduction-to-libcamp-in-thailand/

3) ผู้จัดงานสัมมนาเครือข่ายบรรณารักษ์ยุคใหม่ (Libcamp#2)

http://www.libraryhub.in.th/2009/07/29/libcamp2-proposal/

4) ผู้จัดงานสัมมนาเครือข่ายบรรณารักษ์ยุคใหม่ (Libcamp#3)

http://www.libraryhub.in.th/2009/09/06/libcamp3-proposal/

5) ผู้จัดงานสัมมนาเครือข่ายบรรณารักษ์ยุคใหม่ ณ จังหวัดอุบลราชธานี (LibcampUbon#1)

http://www.libraryhub.in.th/2011/01/27/intro-to-libcampubon1/

6) ผู้จัดงานสัมมนาเครือข่ายบรรณารักษ์ยุคใหม่ ณ จังหวัดอุบลราชธานี (LibcampUbon#2)

http://www.libraryhub.in.th/2011/05/20/libcampubon2-local-wisdom-in-library/

7) ผู้ก่อตั้งกลุ่มเครือข่ายบรรณารักษ์ไทยใน Hi5

http://www.hi5.com/friend/group/2762676–Librarian%2Bin%2BThailand–front-html

8) ผู้ก่อตั้งกลุ่มเครือข่ายบรรณารักษ์ไทยใน Facebook

http://www.facebook.com/home.php?sk=group_133106983412927&ap=1

9) ผู้จัดทำหน้าเพจเครือข่ายห้องสมุดและบรรณารักษ์ไทย

http://www.facebook.com/THLibrary

2 thoughts on “รู้จักเจ้าของบล็อก

  • April 22, 2014 at 3:54 pm
    Permalink

    สวัสดีครับ คุณ วาย
    เนื่องด้วยตอนนี้ทาง มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ มีต้องการรับสมัครบรรณารักษ์ สำหรับผู้ที่จบบรรณารักษ์โดยตรงจำนวน 1 อัตรา ถ้ามีความชำนาญเรื่องดูแลระบบสารสนเทศ ด้วยจะดีมากเลยครับ รบกวนคุณวายช่วยลงประกาศใน Blog เผื่อมีผู้สนใจสมัครมาได้ที่ hrm@au.edu นะครับ

    ขอบคุณมากครับ

    Reply
    • September 25, 2014 at 9:14 pm
      Permalink

      เพิ่งไปอบรมด้านบรรณารักษ์ 3 วัน ของสพฐ. ครูบรรณารักษ์ยุคใหม่
      ไม่ได้จบโดยตรง จบเอกเทคโนโลสารสนเทศนะ

      Reply

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *