การปรับตัวและการเรียนรู้ของสังคมในยุคเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก (สไลด์บรรยาย)

การปรับตัวและการเรียนรู้ของสังคมในยุคเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก (สไลด์บรรยาย)

เมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา (1 พ.ย.) ชมรมห้องสมุดเฉพาะ สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ ร่วมกับ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้จัดการประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2562 ชมรมห้องสมุดเฉพาะ สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ และ การประชุมวิชาการ เรื่อง “ทักษะวิชาชีพบรรณารักษ์ในยุคเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก” (Professional Librarian Development and Disruptive Technologies)

และผมเองก็ได้รับมอบหมายให้เป็นหนึ่งในวิทยากรในการประชุมวิชาการดังกล่าว โดยใน Session ของผม หัวข้อ “การปรับตัวและการเรียนรู้ของสังคมในยุคเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก” ซึ่งมีเวลาเพียง 45 นาที วันนี้ผมจึงขอสรุปให้เพื่อนๆ ได้อ่าน พร้อมทั้งนำสไลด์ในการบรรยายมาให้ชม

Read more
ทักษะที่จำเป็นสำหรับบรรณารักษ์ทุกคน

ทักษะที่จำเป็นสำหรับบรรณารักษ์ทุกคน

วันนี้เปิดอ่านข่าวในหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันที่ 21 ตุลาคม 2562 แล้วเจอคอลัมน์หนึ่ง “ก้าวไกลวิสัยทัศน์” ซึ่งเขียนโดย ดร.บวร ปภัสราทร (อาจารย์ที่เคยสอนปริญญาโทผมตอนที่อยู่ KMUTT) วันนี้ท่านเขียนเรื่อง “ทักษะที่จำเป็นสำหรับคนทุกยุค” ผมจึงขอนำมาต่อยอดและอธิบายให้บรรณารักษ์ได้อ่านกันต่อด้านล่างนี้นะครับ

ช่วงเวลานี้เป็นช่วงเวลาที่หลายท่านได้ยินคำว่า AI หรือ ปัญญาประดิษฐ์กันบ้างแล้ว และนอกจากการที่ได้ยินคำๆ นี้บ่อยขึ้น ความฉลาดและความสามารถของ AI ก็ถูกพัฒนามากขึ้นเช่นกัน จนบ่อยครั้งที่ผมไปบรรยายให้พี่น้องชาวบรรณารักษ์ฟังจะต้องมีคำถามว่า “แล้วเราจะถูกแทนที่ด้วยหุ่นยนต์หรือไม่”

Read more
Food for Thought : บรรณารักษ์ขี้สงสัยถึงอยู่รอด

Food for Thought : บรรณารักษ์ขี้สงสัยถึงอยู่รอด

อาหารสมองยามเย็นวันนี้มาจากการอ่านนิตยสาร Business+ ฉบับเดือนกันยายน 2562 ซึ่งมีคอลัมน์หนึ่งที่ทำให้ผมต้องหยุดอ่าน คอลัมน์นี้ คือ Management Strategies ซึ่งเขียนเรื่อง “ยุคนี้ (อยู่ให้) รอด ด้วยความขี้สงสัย” และเขียนโดยคุณอริญญา เถลิงศรี (MD ของ SEAC)

“ความขี้สงสัย” คือบ่อเกิดแห่งปัญญา อุปนิสัยพื้นฐานของมนุษย์ตั้งแต่เด็กจนโตเรามักจะชอบตั้งคำถามว่า “ทำไม” อยู่เสมอ

Read more
รีวิวหนังสือ “แนวโน้มในการจัดหมวดหมู่สำหรับห้องสมุดในศตวรรษที่ 21”

รีวิวหนังสือ “แนวโน้มในการจัดหมวดหมู่สำหรับห้องสมุดในศตวรรษที่ 21”

หากคิดว่าหนังสือเล่มนี้น่าเบื่อกรุณาออกจากหน้านี้ไปได้เลยครับ เพราะสิ่งที่ผมกำลังจะเล่าต่อจากนี้ มันคือความตื่นเต้นที่ผมได้อ่านหนังสือเล่มนี้ตลอดสองวันที่ผ่านมา….

โลกของการจัดหมวดหมู่หนังสือในวงการบรรณารักษ์ไม่ว่าจะเป็น “การจัดหมวดหมู่หนังสือระบบดิวอี้” “การจัดหมู่หนังสือแบบหอสมุดรัฐสภา” “การจัดหมวดหมู่หนังสือทางการแพทย์” ล้วนแล้วแต่มีจุดกำเนิดมาอย่างยาวนาน ซึ่งนั่นอาจเป็นแนวทางที่ดีที่สุดในยุคนั้น และเราก็ใช้ระบบเหล่านั้นมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งนั่นอาจเป็นแนวทางที่ดีที่สุดในยุคนั้น และเราก็ใช้ระบบเหล่านั้นมาจนถึงปัจจุบัน

การจัดหมวดหมู่หนังสือที่กล่าวมาเริ่มถูกผู้ใช้บริการถามถึงบ่อยขึ้นเรื่อยๆ ว่า “มันยังเป็นการจัดหนังสือที่ยังเหมาะสมกับบริบทในปัจจุบันหรือไม่” และ “บางห้องสมุดใช้ดิวอี้ แบบห้องสมุดใช้แอลซี จริงๆ แล้วมีเงื่อนไขใดในการนำระบบดังกล่าวมาใช้”

Read more
บรรณารักษ์กับ 10 ทักษะที่จำเป็นสำหรับอนาคต

บรรณารักษ์กับ 10 ทักษะที่จำเป็นสำหรับอนาคต

วันก่อนได้ไปบรรยายเรื่อง “ความท้าทายของห้องสมุดและวิชาชีพสารสนเทศ” ให้เด็ก ป. โทฟัง หนึ่งในหัวข้อที่ผมต้องพูดถึงก็คือทักษะที่จำเป็นสำหรับอนาคต “วันนี้ผมไม่ได้บอกว่าพวกเราไม่มีทักษะหรือความรู้ แต่ทักษะหรือความรู้บางอย่างมันหมดอายุไปแล้ว ตอนนี้ไม่สามารถใช้ได้ 100% เราจำเป็นต้อง Unlearn Relearn และ Learn อะไรใหม่ๆ ตลอดเวลา

อยากให้อ่านบทความของ ดร.สันติธาร เสถียรไทย “ความรู้ของเรามี “ชีวิต” เหลืออีกกี่ปี
https://www.the101.world/how-long-does-skills-last/

กลับมาเข้าเรื่องของเรากันนิดนึง วันนี้บังเอิญไปเจอเรื่องเดียวกับที่ผมบรรยายก็เลยขอนำมาโพสให้อ่านต่อเกี่ยวกับ “10 ทักษะที่จำเป็นสำหรับอนาคต” เราลองไปอ่านสรุปกันว่ามีอะไรบ้าง

Read more
ทักษะและสมรรถนะสำหรับบรรณารักษ์ยุคใหม่ (สไลด์บรรยาย)

ทักษะและสมรรถนะสำหรับบรรณารักษ์ยุคใหม่ (สไลด์บรรยาย)

วันนี้ขอมารีวิวสไลด์บรรยาย “ทักษะและสมรรถนะสำหรับบรรณารักษ์ยุคใหม่” ซึ่งใช้บรรยายเมื่อปี 2560 ให้กับหน่วยงานแห่งหนึ่งของภาครัฐ (หน่วยงานนี้มีคนทำงานห้องสมุดแต่ไม่มีใครจบบรรณารักษ์สักคนเดียว)

Read more
ช้อปปิ้งไอเดียการพัฒนาห้องสมุดจากบรรณารักษ์ทั่วทุกมุมโลก

ช้อปปิ้งไอเดียการพัฒนาห้องสมุดจากบรรณารักษ์ทั่วทุกมุมโลก

เมื่อ 2 วันที่แล้ว (27 สิงหาคม 2562) ในงาน World Library and Information Congress (WLIC) หรืองานประชุมสภาวิชาชีพห้องสมุดและสารสนเทศโลก ที่จัดโดย IFLA ได้มี session ที่ทำให้ผมตื่นเต้นมากๆ คือ การเปิดตัว “The Global Vision Ideas Store” ซึ่งวันนี้ผมจะมาขอเล่าให้เพื่อนอ่านว่ามันคืออะไร และทำไมผมถึงตื่นเต้นหนักหนา

Read more
ความท้าทายในอาชีพบรรณารักษ์ในเอเชียแปซิฟิก (ข้อมูล Survey)

ความท้าทายในอาชีพบรรณารักษ์ในเอเชียแปซิฟิก (ข้อมูล Survey)

วันนี้ขอโพสอะไรสั้นๆ เกี่ยวกับเรื่องความท้าทายในอาชีพบรรณารักษ์ในเอเชียแปซิฟิกมาให้อ่าน ทั้งนี้ข้อมูลมาจากการสอบถามบรรณารักษ์ในเอเชียแปซิฟิก จำนวน 336 คน

Wiley ได้นำมาจัดทำเป็น Infographic

Credit : https://www.wiley.com/network/librarians/librarians-infographics/infographic-insights-on-librarian-challenges-amp-success-metrics-in-asia-pacific
Read more
รีวิวหนังสือ “แนวทางสำหรับบรรณารักษ์หนึ่งเดียวในห้องสมุด”

รีวิวหนังสือ “แนวทางสำหรับบรรณารักษ์หนึ่งเดียวในห้องสมุด”

เมื่อช่วงต้นเดือนที่ผ่านมา ผมโพสรูปหนังสือเล่มหนึ่งที่ผมอยากอ่าน ชื่อเรื่องว่า “Managing the One-Person Library” ซึ่งมีเพื่อนๆ สอบถามและอยากให้ผมช่วย Review หนังสือเล่มนี้ วันนี้สะดวกแล้วครับ มาอ่านรีวิวจากผมกันได้เลย

ข้อมูลทั่วไปของหนังสือเล่มนี้
ชื่อเรื่อง : Managing the One-Person Library
ผู้แต่ง : Larry Cooperman
ISBN : 9781843346715
ปีพิมพ์ : 2015
จำนวนหน้า : 88 หน้า

Read more
บรรณารักษ์ยังคงสำคัญเสมอในวันที่อะไรๆ มันเปลี่ยนไป

บรรณารักษ์ยังคงสำคัญเสมอในวันที่อะไรๆ มันเปลี่ยนไป

เพื่อนๆ ทราบหรือไม่ครับว่า วันที่ 4 เมษายน ของทุกปี คือวันอะไร
ถ้าไม่ทราบลองเปิดดู https://nationaldaycalendar.com/april/

เราจะพบว่า “มีวันสำคัญวันหนึ่งของชาวบรรณารักษ์” นั่นคือ “National School Librarian Day

Read more