7 สิ่ง Cool ๆ ที่บรรณารักษ์ห้องสมุดทำ (มากกว่าแค่เรื่องหนังสือ)

7 สิ่ง Cool ๆ ที่บรรณารักษ์ห้องสมุดทำ (มากกว่าแค่เรื่องหนังสือ)

วันนี้อ่านบล็อกเรื่องหนึ่งแล้วประทับใจมากๆ ชื่อเรื่องว่า “7 COOL THINGS LIBRARIES ARE DOING, BEYOND THE BOOKS” ซึ่งแสดงให้เห็นว่า

“เรายังมีอีกหลายเรื่องที่สามารถทำเพื่อสังคมและผู้ใช้บริการของเราได้”

เรามาดูกันว่า 7 สิ่ง Coolๆ ที่บรรณารักษ์ห้องสมุดทำมากกว่าแค่เรื่องหนังสือ มีอะไรบ้าง

Read more
เมื่อผู้ใช้บริการต้องการทั้งความเงียบและความไม่เงียบในห้องสมุด

เมื่อผู้ใช้บริการต้องการทั้งความเงียบและความไม่เงียบในห้องสมุด

“จุ๊ จุ๊ จุ๊ … ที่นี่ห้องสมุดนะ อย่าทำเสียงดังรบกวนคนอื่นสิครับ”
“ชู่ส์… เงียบๆ กันหน่อย ที่นี่ห้องสมุดนะ”

ประโยคยอดฮิตของเหล่าบรรณารักษ์ที่คอยพิทักษ์ความเงียบกริบในห้องสมุด

จากประโยคข้างต้นในอดีตจนถึงปัจจุบัน ทำให้ภาพลักษณ์ของห้องสมุดต้องเป็นสถานที่ที่เงียบกริบเท่านั้น ซึ่งหากเราทำความเข้าใจถึงอดีต เราจะทราบว่า ภายในห้องสมุดจะแต่งไปด้วยหนังสือวิชาการ และผู้คนที่เข้าไปใช้ก็ล้วนแล้วแต่จะต้องอ่านหนังสือในสถานที่แห่งนี้ และต้องการสมาธิสูงมากๆ เพื่อจะเรียนรู้ให้แตกฉาน และห้องสมุดก็เป็นสถานที่แบบนี้มาจนถึงปัจจุบัน

Read more
ห้องสมุดก็ช่วยให้คุณดูดีก่อนไปสัมภาษณ์งานได้

ห้องสมุดก็ช่วยให้คุณดูดีก่อนไปสัมภาษณ์งานได้

เมื่อเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา ผมได้เขียนบล็อกเรื่อง “LIBRARY OF THINGS : ห้องสมุดที่ให้ยืมทุกสรรพสิ่ง” จำได้ว่าผมเขียนถึงรูปแบบการให้บริการยืมคืนสิ่งของที่คุณสามารถนำสิ่งต่างๆ ที่ยืมไปใช้เพื่อการเรียนรู้ได้ (การเรียนรู้จากการปฏิบัติก็สำคัญ)

วันนี้ผมมีสิ่งของอีกกลุ่มหนึ่งที่ห้องสมุดเริ่มนำมาให้บริการ นั่นก็คือ สิ่งที่ของที่จะทำให้คุณดูดีก่อนคุณจะไปสัมภาษณ์งาน เช่น “เนคไท กระเป๋าเอกสาร กระเป๋าใส่โน้ตบุ๊ค”

Read more
การนำข้อมูลมาใช้เพื่อขับเคลื่อนห้องสมุด (Data Driven in Library work)

การนำข้อมูลมาใช้เพื่อขับเคลื่อนห้องสมุด (Data Driven in Library work)

ช่วงนี้หลายห้องสมุดกำลังอยู่ในสภาวะที่งุนงงกับบรรดา Buzzword มากมาย และหนึ่งใน Buzzword ที่ได้ยินกันมากๆ คือ Big Data หรือ ข้อมูลขนาดใหญ่ ว่าแต่ข้อมูลในห้องสมุดมีอะไรที่เรียกว่า Big Data บ้าง — คำตอบ คือ ไม่มีข้อมูลที่ขนาดใหญ่แบบนั้นอยู่จริงในห้องสมุดเพียงแห่งเดียว (แต่ถ้าบอกว่าข้อมูลของการใช้ห้องสมุดทั้งประเทศ หรือ ถ้าห้องสมุดทุกแห่งในประเทศเชื่อมโยงกันแล้ว อาจจะมี Big Data จริงๆ ก็ได้)

ถ้าอย่างนั้นห้องสมุดไม่จำเป็นต้องสนใจเรื่อง Data หรือครับ? คำตอบ คือ ไม่ครับ ยังไงก็ต้องสนใจอยู่ดี และปัจจุบัน Data Driven Business หรือ การขับเคลื่อนธุรกิจด้วยข้อมูลกำลังเป็นอีกประเด็นที่น่าสนใจ

Read more
ห้องสมุดมุมมองใหม่ : เปลี่ยน “ห้องเก็บหนังสือ” เป็น “พื้นที่ในการเรียนรู้นอกระบบ”

ห้องสมุดมุมมองใหม่ : เปลี่ยน “ห้องเก็บหนังสือ” เป็น “พื้นที่ในการเรียนรู้นอกระบบ”

วันนี้ได้อ่านบทความ “What makes a successful informal learning space?” แล้วรู้สึกว่าเป็นบทความที่สั้นแต่ได้ใจความที่ลึกซึ้งพอสมควร แถมชี้คุณลักษณะของการทำ “พื้นที่ในการเรียนรู้นอกระบบ” หรือ “Informal Learning Space” ได้อย่างดี

ที่มาของบทความนี้มาจากบทความที่ตีพิมพ์ใน “New Review of Academic Librarianship” ของ Taylor & Francis Online ซึ่งผู้เขียน Deborah Harrop และ Bea Turpin นำกรณีศึกษาจาก Sheffield Hallam University มาเป็นข้อมูลตั้งต้น

Read more
นายห้องสมุดชวนดูวีดีโอ Austin Central Library (ห้องสมุดระดับโลกอีกแห่ง)

นายห้องสมุดชวนดูวีดีโอ Austin Central Library (ห้องสมุดระดับโลกอีกแห่ง)

วันนี้เปิด Youtube เพื่อหาแรงบันดาลใจในการทำห้องสมุด ปรากฎว่าเจอวีดีโอนี้ “A Building Shaped by Light Austin Central Library” ซึ่งความน่าสนใจคือ เป็นภาพยนตร์สารคดีแบบสั้นที่ได้รางวัลที่ 3 ของ AIA Film Challenge 2019

อีกความน่าสนใจ คือ

ตัวห้องสมุดแห่งนี้ = 1 ใน 6 ห้องสมุดที่ได้รับรางวัล “AIA/ALA Library Building Awards 2018”
อ่านข่าวได้จาก https://library.austintexas.gov/press-release/austin-central-library-wins-library-2018-aiaala-library-building-award-461312

Read more
Food for Thought : สร้างประสบการณ์ใหม่ให้ผู้ใช้บริการห้องสมุดกันเถอะ

Food for Thought : สร้างประสบการณ์ใหม่ให้ผู้ใช้บริการห้องสมุดกันเถอะ

เช้านี้ได้มีโอกาสมานั่งจิบกาแฟ อ่านนิตยสารแจกฟรี (Free Magazine) ในร้านกาแฟ เลยหยิบมาเล่มหนึ่ง ชื่อว่า “MICE Spotlight” ที่เน้นเนื้อหาเกี่ยวกับวงการ MICE ในบ้านเรา (MICE ย่อมาจาก Meetings, incentives, conferencing, exhibitions — กล่าวง่ายๆ ว่าเป็นธุรกิจที่เกี่ยวกับการจัด Event)

ซึ่งภายในนิตยสารฉบับนี้ ผมได้เจอคอลัมน์หนึ่งที่ทำให้ต้องหยุดและอ่าน นั่นคือ “MICE SPOTLIGHT” ซึ่งในฉบับนี้ได้นำเสนอเรื่อง “Fulfill the moment : Playing with feeling…a list of techniques to create immersive experiences” หรือ แปลเป็นไทยว่า “เล่นกับความรู้สึก เทคนิคสร้างประสบการณ์ตราตรึงใจ

Read more
อัพเดท! แนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่น่าสนใจกับงานห้องสมุด 2019

อัพเดท! แนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่น่าสนใจกับงานห้องสมุด 2019

หากกล่าวถึง Trend ด้านเทคโนโลยีที่น่าสนใจกับงานห้องสมุด หนึ่งในบรรณารักษ์ที่ผมตามอ่าน คือ “David Lee King” ซึ่งเขาจะอัพเดทและทำสไลด์เรื่องนี้ทุกปี (และผมก็ชอบนำมาใช้ประกอบการบรรยายบ่อยครั้ง) ปีก่อนๆ เพื่อนๆ สามารถอ่านในบล็อกของผมย้อนหลังได้ แต่ปีนี้ 2019 มาอ่านในเรื่องนี้กันดีกว่า

ก่อนอื่นผมขอแนะนำ “David Lee King” ให้ทุกท่านได้รู้จักกันก่อน

Read more
3 ผู้นำด้านเทคโนโลยีห้องสมุด แนะนำเทคนิคและเครื่องมือที่น่าสนใจ

3 ผู้นำด้านเทคโนโลยีห้องสมุด แนะนำเทคนิคและเครื่องมือที่น่าสนใจ

ในประเทศสหรัฐอเมริกาจะมีการรวมกลุ่มบรรณารักษ์และคนทำงานห้องสมุดเป็นสมาคม หรือที่หลายๆ คนจะรู้จักในนาม ALA และภายในสมาคมใหญ่ก็มีการแบ่งสายตามความสนใจอย่างชัดเจน ซึ่งวันนี้ผมขอแนะนำกลุ่มๆ หนึ่ง นั่นคือ Library and Information Technology Association หรือย่อว่า LITA ซึ่งจะศึกษาเกี่ยวกับเรื่องเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องเพื่อนำมาปรับใช้กับวงการห้องสมุด อีกทั้งสายงานนี้จะทำรายงานเกี่ยวกับข้อมูลการใช้ระบบห้องสมุดอัตโนมัติจากทั่วโลกด้วย

ในงานประชุม ALA เมื่อต้นปี 2019 ได้มี session หนึ่ง รวมผู้นำด้านเทคโนโลยีห้องสมุดจำนวน 3 ท่านมาพูดในงานนี้ ซึ่งได้กล่าวถึง Application, อุปกรณ์, ซอฟท์แวร์ และกรณีศึกษาที่น่าสนใจด้านเทคโนโลยีที่ห้องสมุดสามารถนำมาปรับใช้ได้

Read more
Learning Commons คืออะไร (ห้องสมุดเวอร์ชั่นใหม่ ?)

Learning Commons คืออะไร (ห้องสมุดเวอร์ชั่นใหม่ ?)

ช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมา… ผมได้ติดตามข่าวสารของมหาวิทยาลัยหลายแห่ง และสิ่งหนึ่งที่ผมได้เห็นมากขึ้น คือ มหาวิทยาลัยหลายๆ แห่งเปิดพื้นที่แห่งการเรียนรู้ใหม่ในมหาวิทยาลัย และเรียกมันสั้นๆ ว่า “Learning Commons” ซึ่งบางแห่งก็ให้ห้องสมุดของสถาบันเป็นผู้ดูแล บางแห่งก็เปิดเป็นพื้นที่ส่วนกลางของคณะ … ซึ่งหลายแห่ง “Learning Commons” ก็อยู่ภายในอาคารห้องสมุดนั่นแหละ

แล้วสุดท้าย “Learning Commons” คืออะไร

Read more