อยากมีห้องสมุดขนาดเล็กต้องเริ่มยังไง…

อยากมีห้องสมุดขนาดเล็กต้องเริ่มยังไง…

ช่วงนี้มีผมเห็นหลายคนแชร์ประสบการณ์ในการเปลี่ยนห้องเก็บหนังสือที่บ้าน หรือ Home Library ให้กลายเป็นห้องสมุดที่ให้บริการกับเพื่อนฝูง เพื่อนบ้าน ตลอดคนรู้จัก … ส่วนตัวผมชอบไอเดียนี้นะครับ ถ้ามีมากๆ ในประเทศไทยก็คงดี

เพราะฉะนั้นสำหรับวันนี้ ผมจึงขอแชร์เรื่อง “วิธีการเริ่มต้นทำห้องสมุดขนาดเล็ก” (How to Start a Small Library) เพื่อให้แนวทางสำหรับผู้เริ่มต้น ส่วนผู้ที่มีห้องสมุดอยู่แล้วก็ลองทำความเข้าใจกับวิธีการนี้ดูนะครับ

Read more
ห้องสมุดที่ไม่มีหนังสือ แต่มีไอเดียมากมาย

ห้องสมุดที่ไม่มีหนังสือ แต่มีไอเดียมากมาย

ช่วงที่ผ่านมาได้มีโอกาสไปบรรยายเรื่อง “จุดเปลี่ยนห้องสมุดในยุค digital transformation” ให้หน่วยงานต่างๆ เพิ่มขึ้น และมีคำถามจากสไลด์ที่ผมใช้ถามผู้เข้าร่วมงานเสมอๆ คือ

  1. อนาคตห้องสมุดจะหน้าตาเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
  2. ผู้ใช้บริการยังคงมาใช้บริการห้องสมุดอยู่หรือไม่
  3. ถ้าไม่มีหนังสือสักเล่มในห้องสมุดจะเป็นไปได้แค่ไหน
  4. บรรณารักษ์ต้องพัฒนาทักษะอะไรเพื่อให้อยู่รอด
Read more
ไอเดียจากห้องสมุดญี่ปุ่น “สมุดสะสมมูลค่าการยืม”

ไอเดียจากห้องสมุดญี่ปุ่น “สมุดสะสมมูลค่าการยืม”

เมื่อวานนี้ขณะนั่งเล่น Twitter อยู่ ก็พบกับ วีดีโอไอเดียสุดเจ๋งจากห้องสมุดที่ประเทศญี่ปุ่นเลยกดเข้าไปดูสักหน่อย พอดูจบเลยต้องตามค้นข้อมูลต่อและขอนำมาเล่าให้เพื่อนๆ ได้อ่านกัน

Read more

หอสมุดแห่งชาติโฉมใหม่ ชาตินี้ ไม่ต้อง รอชาติหน้า

หอสมุดแห่งชาติโฉมใหม่ ชาตินี้ ไม่ต้อง รอชาติหน้า

วันนี้มีโอกาสมาเยี่ยมเยียนหอสมุดแห่งชาติอีกครั้ง (ช่วงบ่ายผมมีประชุม มรภ.สวนสุนันทา)
เห็นหลายคนพูดถึง NLT Smart Library ของหอสมุดแห่งชาติ ว่าดีงามมาก เลยต้องมาชมให้เห็นกับตา
NLT Smart Library เพิ่งเปิดให้บริการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2561

ภาพแรกที่เห็น คือ การเปลี่ยนจากร้านขายหนังสือเดิมของกรมศิลปากร มาเป็น NLT Smart Library นี่หว่า
(เดินเข้าหอสมุดแห่งชาติมาจะเห็นทันที)

Read more

http://www.ala.org/tools/future/trends

ติดตามอนาคตห้องสมุดผ่านมุมมองของ ALA

อนาคตของห้องสมุดจะเป็นอย่างไร อะไรที่เป็นเรื่องใหม่ๆ ในวงการห้องสมุด
ในฐานะคนทำงานห้องสมุดเราต้องรู้อะไร แล้วเราต้องติดตามเรื่องไหนเป็นพิเศษ
วันนี้ผมขอแนะนำให้เราเข้าไปอ่าน “Library of the future” โดย ALA

Library Trends & Innovations

Library of the Future” ประกอบด้วยข้อมูล
– โครงการ “Center for the Future of Libraries”
– รายชื่อ Advisory Group
– Blog หรือ รวม feed บทความจาก ALA ที่น่าสนใจ
– Engage
– Trend

ซึ่งเนื้อหาที่ผมอยากเน้นให้เพื่อนๆ ได้รู้จัก หลักๆ อยู่ที่หน้า Trend

ภายใต้หัวข้อ Trend ได้มีการแบ่งหมวดหมู่ของ Trend ออกเป็น 7 กลุ่ม ดังนี้

1) Society
2) Technology
3) Education
4) Environment
5) Politics (and Government)
6) Economics
7) Demographics

ซึ่งแต่ละกลุ่ม/หมวดหมู่จะแบ่งด้วยสีตามภาพที่ผมแนบมาด้วย

Trend Collection Color Key

เอาหล่ะครับ ทีนี้เรามาดูกันดีกว่าว่ามี keyword อะไรที่น่าสนใจ ที่ทำให้เราต้องติดตามบ้าง

– Aging Advances
– Anonymity
– Badging
– Basic Income
– Blockchain
– Co-Working / Co-Living
– Collective Impact
– Connected Learning
– Connected Toys
– Corporate Influence
– Creative Placemaking
– Data Everywhere
– Design Thinking
– Digital Natives
– Drones
– Emerging Adulthood
– Experiential Retail
– Facial Recognition
– Fandom
– Fast Casual
– Flipped Learning
– Gamification
– Haptic Technology
– Income Inequality
– Internet of Things
– Maker Movement
– Privacy Shifting
– Resilience
– Robots
– Sharing Economy
– Short Reading
– Smart Cities
– Unplugged
– Urbanization
– Virtual Reality
– Voice Control

รวมทั้งหมด จำนวน 36 เรื่องที่น่าสนใจ
ซึ่งทุกท่านสามารถเข้าไปอ่านได้ที่ http://www.ala.org/tools/future/trends

http://www.ala.org/tools/future/trends
http://www.ala.org/tools/future/trends

ตัวอย่างเมื่อเราเข้าไปแล้วจะมีเนื้อหา 3 ส่วนที่น่าสนใจ
1. เราจะนำไปใช้ยังไง
2. ทำไมมันถึงสำคัญ
3. link และเนื้อหาที่เอาไว้เรียนรู้เพิ่มเติม

Co-Working / Co-Living
Co-Working / Co-Living

เอาเป็นว่าอยากให้เข้าไปเรียนรู้กันเยอะๆ ครับ
ผมเองก็จะค่อยๆ อ่านและพยายามทำความเข้าใจทีละเรื่องเช่นกัน

แนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่น่าสนใจกับงานห้องสมุด 2018

แนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่น่าสนใจกับงานห้องสมุด 2018

ในปีที่ผ่านมา ผมได้มีโอกาสไปบรรยายให้ห้องสมุดหลายแห่งฟังเกี่ยวกับแนวโน้มที่น่าสนใจทางเทคโนโลยี ซึ่งบ่อยครั้งผมจะพูดถึง Gartner เป็นหลัก แต่วันนี้ที่ผมจะเขียนให้เพื่อนๆ อ่าน ผมขอหยิบแนวโน้มที่น่าสนใจทางเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับวงการห้องสมุดมาเล่าบ้าง ซึ่งคนที่ผมชอบกล่าวถึงบ่อยๆ คงหนีไม่พ้น David Lee King (บรรณารักษ์ด้านไอที Idol ของผมเอง) ซึ่งเพื่อนๆ สามารถตามอ่านบล็อกของเขาได้ที่ https://www.davidleeking.com/

Read more

แนวคิดเพื่อห้องสมุดสีเขียว : ปั่นเพื่อชาร์จแบต

แนวคิดเพื่อห้องสมุดสีเขียว : ปั่นเพื่อชาร์จแบต

แนวโน้มเรื่องการก้าวเข้าสู่ ห้องสมุดสีเขียว กำลังได้รับการยอมรับในหลายประเทศ (ในประเทศไทยก็เช่นกัน)
วันนี้ผมจึงขอเริ่มเขียนบล็อกนำเสนอไอเดียต่างๆ (ที่เคยเห็น) เพื่อให้เพื่อนๆ นำไปต่อยอดกับห้องสมุดตัวเอง

Essex Libraries installed Kinetic bikes in their libraries.

เริ่มจาก “ปั่นเพื่อชาร์จแบต” ซึ่งผมได้ไอเดียจากห้องสมุดสองแห่งคือ Essex Libraries (ประเทศอังกฤษ) และ Warwick University (ประเทศอังกฤษ) ซึ่งทั้งคู่ได้ใช้แนวคิดนี้สร้างพลังงานสะอาด Read more

สรุปการบรรยาย อนาคตของสื่อการเรียนรู้

สรุปการบรรยาย อนาคตของสื่อการเรียนรู้

Session สุดท้ายของวันนี้ การบรรยาย หัวข้อ “อนาคตของสื่อการเรียนรู้”
โดยนายอดิศักดิ์ ลิมปรุ่งพัฒนกิจ และ นางสาววิมล จรุงจรส
ดำเนินรายการโดย ดร. ถนอมวงศ์ ล้ำยอดมรรคผล

12873536_10153566074693348_248956290_o Read more

คำคม : ห้องสมุดสำคัญพอๆ กับโรงพยาบาล

คำคม : ห้องสมุดสำคัญพอๆ กับโรงพยาบาล

วันนี้ไปเจอ Quote นึง แล้วรู้สึกโดนใจ เป็น Quote จากคุณ Laurinda Thomas
ที่พูดในงาน TEDxWellington เลยขอนำมาแชร์ให้เพื่อนๆ อ่าน
(อยากให้คนทำงานห้องสมุดจงภูมิใจในอาชีพของตัวเอง)

คุณ Laurinda Thomas
ผู้จัดการ ฝ่ายการจัดการข้อมูล สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ประเทศนิวซีแลนซ์ Read more

ห้องสมุดดีเด่นของประเทศไทย ประจำปี 2558

ห้องสมุดดีเด่นของประเทศไทย ประจำปี 2558

แนะนำห้องสมุดในต่างประเทศก็เยอะแล้วนะครับ วันนี้ขอนำผลการประกวดห้องสมุดดีเด่น ประจำปี 2558 ของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยมานำเสนอบ้างเพื่อเป็นเกียรติและเป็นกำลังใจแก่ห้องสมุดที่ประสบความสำเร็จในปีที่ผ่านมานี้

best libraries 2015 by tla Read more