Food for Thought : บรรณารักษ์ขี้สงสัยถึงอยู่รอด

October 10, 2019 libraryhub 0

อาหารสมองยามเย็นวันนี้มาจากการอ่านนิตยสาร Business+ ฉบับเดือนกันยายน 2562 ซึ่งมีคอลัมน์หนึ่งที่ทำให้ผมต้องหยุดอ่าน คอลัมน์นี้ คือ Management Strategies ซึ่งเขียนเรื่อง “ยุคนี้ (อยู่ให้) รอด ด้วยความขี้สงสัย” และเขียนโดยคุณอริญญา เถลิงศรี (MD ของ SEAC) “ความขี้สงสัย” คือบ่อเกิดแห่งปัญญา อุปนิสัยพื้นฐานของมนุษย์ตั้งแต่เด็กจนโตเรามักจะชอบตั้งคำถามว่า “ทำไม” อยู่เสมอ

บรรณารักษ์กับ 10 ทักษะที่จำเป็นสำหรับอนาคต

September 25, 2019 libraryhub 0

วันก่อนได้ไปบรรยายเรื่อง “ความท้าทายของห้องสมุดและวิชาชีพสารสนเทศ” ให้เด็ก ป. โทฟัง หนึ่งในหัวข้อที่ผมต้องพูดถึงก็คือทักษะที่จำเป็นสำหรับอนาคต “วันนี้ผมไม่ได้บอกว่าพวกเราไม่มีทักษะหรือความรู้ แต่ทักษะหรือความรู้บางอย่างมันหมดอายุไปแล้ว ตอนนี้ไม่สามารถใช้ได้ 100% เราจำเป็นต้อง Unlearn Relearn และ Learn อะไรใหม่ๆ ตลอดเวลา“ อยากให้อ่านบทความของ ดร.สันติธาร เสถียรไทย “ความรู้ของเรามี “ชีวิต” เหลืออีกกี่ปี“ https://www.the101.world/how-long-does-skills-last/ กลับมาเข้าเรื่องของเรากันนิดนึง […]

3 ผู้นำด้านเทคโนโลยีห้องสมุด แนะนำเทคนิคและเครื่องมือที่น่าสนใจ

September 16, 2019 libraryhub 0

ในประเทศสหรัฐอเมริกาจะมีการรวมกลุ่มบรรณารักษ์และคนทำงานห้องสมุดเป็นสมาคม หรือที่หลายๆ คนจะรู้จักในนาม ALA และภายในสมาคมใหญ่ก็มีการแบ่งสายตามความสนใจอย่างชัดเจน ซึ่งวันนี้ผมขอแนะนำกลุ่มๆ หนึ่ง นั่นคือ Library and Information Technology Association หรือย่อว่า LITA ซึ่งจะศึกษาเกี่ยวกับเรื่องเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องเพื่อนำมาปรับใช้กับวงการห้องสมุด อีกทั้งสายงานนี้จะทำรายงานเกี่ยวกับข้อมูลการใช้ระบบห้องสมุดอัตโนมัติจากทั่วโลกด้วย ในงานประชุม ALA เมื่อต้นปี 2019 ได้มี session หนึ่ง รวมผู้นำด้านเทคโนโลยีห้องสมุดจำนวน […]

ข่าวสารบรรณารักษ์และคนทำงานห้องสมุดควรรู้ ประจำเดือนกันยายน 2562

September 11, 2019 libraryhub 0

เคยมีคนถามว่า “ทำไมผมถึงมีเรื่องห้องสมุดให้เขียนมากมาย” ส่วนหนึ่งต้องขอตอบว่าเพราะติดตามข่าวสารในวงการห้องสมุดและบรรณารักษ์เยอะมาก ซึ่งก็มีคนสงสัยต่อไปอีกว่า “แล้วอ่านข่าวของวงการห้องสมุดจากที่ไหน” สำหรับผมคงต้องบอกว่า Internet ทำให้เราสามารถเข้าถึงข่าวสารและความรู้ได้มากมายจริงๆ เอาหล่ะครับ เข้าเรื่องวันนี้ดีกว่า … เว็บไซต์หรือบล็อกหนึ่งที่ผมเข้าบ่อยๆ คือ TechSoup for Libraries – http://www.techsoupforlibraries.org/ ซึ่งทุกๆ เดือนในเว็บนี้จะชี้แหล่งว่าเราควรติดตามข่าวสารอะไร

ทักษะและสมรรถนะสำหรับบรรณารักษ์ยุคใหม่ (สไลด์บรรยาย)

September 3, 2019 libraryhub 0

วันนี้ขอมารีวิวสไลด์บรรยาย “ทักษะและสมรรถนะสำหรับบรรณารักษ์ยุคใหม่” ซึ่งใช้บรรยายเมื่อปี 2560 ให้กับหน่วยงานแห่งหนึ่งของภาครัฐ (หน่วยงานนี้มีคนทำงานห้องสมุดแต่ไม่มีใครจบบรรณารักษ์สักคนเดียว)

ช้อปปิ้งไอเดียการพัฒนาห้องสมุดจากบรรณารักษ์ทั่วทุกมุมโลก

August 29, 2019 libraryhub 0

เมื่อ 2 วันที่แล้ว (27 สิงหาคม 2562) ในงาน World Library and Information Congress (WLIC) หรืองานประชุมสภาวิชาชีพห้องสมุดและสารสนเทศโลก ที่จัดโดย IFLA ได้มี session ที่ทำให้ผมตื่นเต้นมากๆ คือ การเปิดตัว “The Global Vision Ideas […]

ความท้าทายในอาชีพบรรณารักษ์ในเอเชียแปซิฟิก (ข้อมูล Survey)

August 27, 2019 libraryhub 0

วันนี้ขอโพสอะไรสั้นๆ เกี่ยวกับเรื่องความท้าทายในอาชีพบรรณารักษ์ในเอเชียแปซิฟิกมาให้อ่าน ทั้งนี้ข้อมูลมาจากการสอบถามบรรณารักษ์ในเอเชียแปซิฟิก จำนวน 336 คน Wiley ได้นำมาจัดทำเป็น Infographic

รีวิวหนังสือ “แนวทางสำหรับบรรณารักษ์หนึ่งเดียวในห้องสมุด”

August 17, 2019 libraryhub 0

เมื่อช่วงต้นเดือนที่ผ่านมา ผมโพสรูปหนังสือเล่มหนึ่งที่ผมอยากอ่าน ชื่อเรื่องว่า “Managing the One-Person Library” ซึ่งมีเพื่อนๆ สอบถามและอยากให้ผมช่วย Review หนังสือเล่มนี้ วันนี้สะดวกแล้วครับ มาอ่านรีวิวจากผมกันได้เลย ข้อมูลทั่วไปของหนังสือเล่มนี้ ชื่อเรื่อง : Managing the One-Person Library ผู้แต่ง : Larry Cooperman ISBN […]

ห้องสมุดที่ไม่มีหนังสือ แต่มีไอเดียมากมาย

July 9, 2019 libraryhub 0

ช่วงที่ผ่านมาได้มีโอกาสไปบรรยายเรื่อง “จุดเปลี่ยนห้องสมุดในยุค digital transformation” ให้หน่วยงานต่างๆ เพิ่มขึ้น และมีคำถามจากสไลด์ที่ผมใช้ถามผู้เข้าร่วมงานเสมอๆ คือ อนาคตห้องสมุดจะหน้าตาเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ผู้ใช้บริการยังคงมาใช้บริการห้องสมุดอยู่หรือไม่ ถ้าไม่มีหนังสือสักเล่มในห้องสมุดจะเป็นไปได้แค่ไหน บรรณารักษ์ต้องพัฒนาทักษะอะไรเพื่อให้อยู่รอด

ข้อคิดเสริมสร้างการเป็น “บรรณารักษ์ที่สร้างสรรค์” (Creative Librarian)

May 28, 2018 libraryhub 1

ไม่ได้เขียนอะไรแนวสร้างสรรค์มานานแล้ว วันนี้ขอสักบทความหนึ่งแล้วกัน หัวข้อก็ไม่มีอะไรมากแค่ “บรรณารักษ์ที่สร้างสรรค์” ใครๆ ก็อยากเป็น ผมก็เลยไปค้นข้อมูล และก็เจอเส้นทางสู่การเป็น “นักสร้างสรรค์” ปล. เป็นคำแนะนำเล็กๆ แต่ขอนำมาใช้ในวงการบ้าง เพื่อจะมีคนนำไปต่อยอดได้